Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50613
Title: บทประพันธ์เพลงมหาบัณฑิตนิพนธ์ : “สัญลักษณ์ทั้ง 4” บทเพลงชุดสำหรับออร์เคสตรา
Other Titles: MASTER MUSIC COMPOSITION : THE FOUR SYMBOLIC SUITES FOR ORCHESTRA
Authors: วรพัฒน์ ภูริปัญญวานิช
Advisors: วีรชาติ เปรมานนท์
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะศิลปกรรมศาสตร์
Advisor's Email: Weerachat.P@Chula.ac.th,drwpremananda@yahoo.com
Issue Date: 2558
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: บทประพันธ์สัญลักษณ์ทั้ง 4 เป็นบทประพันธ์ประเภทเพลงชุดบรรเลงโดยวงออร์เคสตรา ในแต่ละท่อนมีเอกลักษณ์ที่แตกต่างกัน ไม่ว่าจะเป็นด้านทำนอง จังหวะ โครงสร้าง และแนวประสาน ถึงอย่างนั้น ก็ยังคงมีทำนองร่วมที่แฝงอยู่ในทุกๆท่อนซึ่งเป็นทำนองหลักที่ผูกทั้ง 4 ท่อนไว้ด้วยกัน ซึ่งผู้แต่งเห็นว่า โครงสร้างบทเพลงชุดนั้นมีมานานและมีผู้ประพันธ์จำนวนมากที่นำไปใช้ประกอบการประพันธ์ แต่ลักษณะเด่นดั้งเดิมโครงสร้างแบบนี้ในแต่ละท่อนจะมีความแตกต่างกันอย่างสิ้นเชิงโดยไม่มีสิ่งใดมาผูกมัด เปรียบเหมือนนำบทเพลงหลายๆชิ้นมารวมกันเท่านั้น แต่ในบทประพันธ์สัญลักษณ์ทั้ง 4 นี้จะแตกต่างจากโครงสร้างเดิมโดยใช้ทำนองผูกมัดแต่ละท่อนไว้ตามที่กล่าวไว้ข้างต้น นอกจากนั้นในแต่ละท่อนจะเลือกใช้กลุ่มเครื่องดนตรีที่แตกต่างกันเป็นตัวดำเนินทำนองหลักเพื่อสร้างสีสันของเสียงในหลายๆรูปแบบ บทประพันธ์นี้มีความยาวโดยรวมประมาณ 20 นาที แบ่งออกเป็น 4 ท่อน ในแต่ละท่อนมีความยาวที่ใกล้เคียงกันที่ 5 นาทีทุกท่อน
Other Abstract: The Four Symbolic Suite is a composition for an orchestra, which each movement has an individual characteristic such as melody, rhythm, form and counterpoint. Nonetheless, they have the same melody that hide in every each movement ant also it’s bind all of them together. The original Suite that being used by many composers, each movement has an individual character and also they are free from each other with no obligation, just like bringing many pieces into one suite. So the composer has an idea to change the form of an original Suite, by adding the same melody or theme in every movement, it will create a chain to each movement so that they can be connected. Moreover, each movement used a different instrument to express a melody and because of that, it created a lot of styles and color to this Suite. This Suite duration is approximately 20 minutes divided into four movements. Each one has the same duration approximately 5 minutes.
Description: วิทยานิพนธ์ (ศป.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558
Degree Name: ศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: ดุริยางคศิลป์ตะวันตก
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50613
Type: Thesis
Appears in Collections:Fine Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5786723335.pdf13.02 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.