Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50625
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมาโนช โลหเตปานนท์en_US
dc.contributor.authorสุปรีชญา บุญมากen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัยen_US
dc.date.accessioned2016-12-01T08:11:05Z
dc.date.available2016-12-01T08:11:05Z
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50625
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้จัดทำขึ้นเพื่อพัฒนารูปแบบการจัดตารางเวลาการกำหนดงานสำหรับเจ้าหน้าที่ภาคพื้นของสายการบิน ในส่วนงานให้บริการเช็คอินผู้โดยสารและส่วนงานรับ-ส่งเครื่องบินของสายการบินโดยลักษณะการกำหนดงานในปัจจุบันผู้จัดตารางจะทำการแบ่งเจ้าหน้าที่เป็นกลุ่มละเท่าๆกันและกำหนดงาน แต่เนื่องจากแต่ละส่วนงานมีความต้องการจำนวนเจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติงานที่แตกต่างกันในแต่ละช่วงเวลาจึงทำให้รูปแบบการกำหนดงานดังกล่าวไม่มีประสิทธิภาพ งานวิจัยนี้มุ่งเน้นให้มีการพัฒนาการจัดตารางเวลาที่มีประสิทธิภาพมากกว่าในรูปแบบปัจจุบันและสามารถลดจำนวนเจ้าหน้าที่ในระบบปฏิบัติงานลง โดยทำการพัฒนาแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ในรูปแบบกำหนดการเชิงเส้นจำนวนเต็ม (Integer Linear Programming) และทำการปรับเปลี่ยนรูปแบบการจัดตารางเวลากำหนดงานของเจ้าหน้าที่แตกต่างไปจากลักษณะเดิม นั่นคือได้ทำการจัดตารางเวลาให้แก่เจ้าหน้าที่ภาคพื้นเป็นรายบุคคลตามปริมาณงานที่มีและหาผลเฉลยการจัดตารางโดยใช้โปรแกรมไมโครซอฟท์ เอ็กเซล พรีเมี่ยม โซลเวอร์ แพลตฟอร์ม (Microsoft Excel Premium Solver Platform) ในการหาผลลัพธ์ที่ดีที่สุด ผลการวิจัยพบว่าการพัฒนาการจัดตารางเวลารูปแบบใหม่สามารถลดจำนวนงานในการปฏิบัติงานรวมทุกกะงานลงเหลือ 68 งานต่อวันจากปัจจุบัน 80 งานต่อวัน นอกจากนี้ การพัฒนาการจัดตารางเวลาและปรับรูปแบบการเปิดบริการเคาน์เตอร์เช็คอินสามารถเพิ่มประสิทธิภาพของการใช้ประโยชน์เคาน์เตอร์เช็คอินจาก 43.26% เป็น 78.27% และสามารถแก้ปัญหาจำนวนเจ้าหน้าที่ไม่เพียงพอในการปฏิบัติงานรับ-ส่งเครื่องบินในช่วงเวลาที่มีปริมาณเที่ยวบินหนาแน่นen_US
dc.description.abstractalternativeThis research aims to improve the schedule of airline’s ground service personnel of passenger check-in, embarkation and disembarkation. Currently, schedule is based on equal number of staff positioning to each duties. This management is inefficient since each duties require different manpower duty period. In this paper, researcher emphasizes on effective schedule improvement by increasing their performance and reducing manpower. From this study, an integer linear programming is applied to solve the problem by combining all tasks to each person and assigning them 1-task per 1-day per 1-person basis and minimize the total number of staff per shift. Lastly, The new schedule is arranged by using Microsoft Excel Premium Solver Platform. As a result, it shows that the schedule is improved in 3 ways as follows; 1) The number of task is reduced from 80 to 68 tasks per day 2) The utilization of manpower for passenger check-in is increased from 43.26% to 78.27% and 3) The problem of staff’s inefficient performance during peak period has been solved.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2015.1355-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectพนักงานสายการบิน
dc.subjectการทำงานเป็นกะ
dc.subjectAirlines -- Employees
dc.subjectShift systems
dc.titleการพัฒนาการจัดตารางเวลาสำหรับเจ้าหน้าที่ภาคพื้นของสายการบินen_US
dc.title.alternativeScheduling improvement for airline ground service staffen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการจัดการด้านโลจิสติกส์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorManoj.L@chula.ac.th,lmanoj@gmail.com,Manoj.L@chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2015.1355-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5787259720.pdf4.04 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.