Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50742
Title: การจัดอัตรากำลังบุคลาการทางการพยาบาลหอผู้ป่วยอายุรกรรม-ศัลยกรรมโรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่ง
Other Titles: NURSE STAFFING IN A MEDICAL-SURGICAL UNIT, A PRIVATE HOSPITAL
Authors: กัญญ์นลิน ครูอ้น
Advisors: อารีย์วรรณ อ่วมตานี
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์
Advisor's Email: Areewan.O@Chula.ac.th,areeday@yahoo.com
Subjects: การวางแผนกำลังคน
ชั่วโมงแรงงาน -- การวางแผน
ลูกจ้าง -- ภาระงาน
พยาบาล -- ภาระงาน
โรงพยาบาล -- บุคลากรทางการแพทย์ -- ภาระงาน
โรงพยาบาลเอกชน -- บุคลากรทางการแพทย์ -- ภาระงาน
Manpower planning
Hours of labor -- Planning
Employees -- Workload
Nurses -- Workload
Hospitals -- Medical staff -- Workload
Hospitals, Proprietary -- Medical staff -- Workload
Issue Date: 2558
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาภาระงานของพยาบาลจำแนกตามประเภทผู้ป่วย อายุรกรรม-ศัลยกรรม และศึกษาอัตรากำลังบุคลากรทางการพยาบาลที่ควรจะเป็นตามภาระงานของหอผู้ป่วยอายุรกรรม-ศัลยกรรมอัตรากำลังบุคลากรทางการพยาบาลที่ควรจะเป็นตามภาระงานของหอผู้ป่วยอายุรกรรม-ศัลยกรรม กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลวิชาชีพ 12 คน พนักงานผู้ช่วยการพยาบาล 7 คน และผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยอายุรกรรม-ศัลยกรรมระหว่างการเก็บข้อมูลจำนวน 608 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 3 ชุด ได้แก่ ชุดที่ 1 เกณฑ์การจำแนกประเภทผู้ป่วยและแบบจำแนกประเภทผู้ป่วย ชุดที่ 2 พจนานุกรมกิจกรรมการพยาบาล ชุดที่ 3 แบบบันทึกเวลาที่ใช้ในการปฏิบัติกิจกรรมการพยาบาลซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิได้ค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหาเท่ากับ 1 และหาค่าความเที่ยงของการสังเกตของเครื่องมือชุดที่ 3 ระหว่างผู้วิจัยและผู้ช่วยวิจัยคนที่ 1 ได้เท่ากับ 0.80 และผู้วิจัยกับผู้ช่วยวิจัยคนที่ 2 ได้เท่ากับ 0.78 ผลการวิจัยพบว่า 1. จำนวนภาระงานของบุคลากรทางการพยาบาลจำแนกตามผู้ป่วยประเภทที่ 2, 3 และ 4 ใน 24 ชั่วโมง เท่ากับ 3 ชั่วโมง, 4.24 ชั่วโมง และ 6.27 ชั่วโมง ตามลำดับ 2. จำนวนอัตรากำลังบุคลากรทางการพยาบาลที่ต้องการคือ พยาบาล 18 คน พนักงานผู้ช่วยการพยาบาล 11 คน 3. อัตราส่วนของพยาบาล: พนักงานผู้ช่วยการพยาบาลในช่วงเวรเช้าเท่ากับ 5: 3 คน เวรบ่ายเท่ากับ 4: 3 คน และเวรดึกเท่ากับ 4: 2 คน
Other Abstract: The purposes of this descriptive research were to determine the nursing workload in each classification, and to determine the appropriate staffing in medical-surgical unit based on nursing workload. The research samples consisted of 12 registered nurses, 7 practical nurses and 608 patients admitted in unit during data collection. Three sets of research tools were used: 1) the patient classification form and the accompanying manual; 2) the nursing activity dictionary; 3) the record sheet indicating the time when a nursing activity was performed which was tested for content validity with CVI score at 1 and the score of the interrater reliability of the record sheet between the researcher and the first research assistant was at 0.80 and that between the researcher and the second research assistant was at 0.78. The major findings were as follows: 1. The mean scores of nursing workload time per patient in 24 hours for the medical-surgical 2, 3 and 4 level were 3 hours, 4.24 hours and 6.27 hours respectively. 2. The number of nursing personnel needed in medical-surgical unit based on nursing workload were 29 nursing staff members, composed of 18 registered nurses and 11 practical nurses. 3. The ratio of registered nurses: practical nurse in day shift, evening shift and night shift were 5: 3, 4: 3 and 4: 2 respectively.
Description: วิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558
Degree Name: พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: การบริหารการพยาบาล
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50742
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2015.763
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2015.763
Type: Thesis
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5577321036.pdf3.61 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.