Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50829
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ณัฐวุฒิ หนูไพโรจน์ | en_US |
dc.contributor.advisor | เกริก ภิรมย์โสภา | en_US |
dc.contributor.author | พิทยุตม์ ตั้งสัจจะธรรม | en_US |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2016-12-02T02:04:30Z | |
dc.date.available | 2016-12-02T02:04:30Z | |
dc.date.issued | 2558 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50829 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558 | en_US |
dc.description.abstract | การประมวลผลบันทึกของระบบงานขนาดใหญ่ที่มาจากหลายๆ เครื่องแม่ข่ายจะพบว่า บันทึกของระบบงานของแต่ละเครื่องแม่ข่ายนั้นมีขนาดใหญ่ ถูกส่งมาตลอดเวลา และมีรูปแบบที่แตกต่างกัน ซึ่งทำให้การประมวลผลข้อมูลของบันทึกของระบบงานเหล่านี้ทำได้ยากยิ่ง ตัวอย่างเช่น การตรวจจับความผิดปรกติของระบบเป็นระบบที่จะต้องวิเคราะห์ข้อมูลล่าสุดร่วมกับข้อมูลในอดีต ถ้าหากเราต้องการความแม่นยำในการตรวจจับความผิดปรกติอย่างทันท่วงที เราจะต้องประมวลผลข้อมูลเหล่านี้ให้ได้ภายในระยะเวลาที่จำกัด เพื่อแก้ปัญหาเหล่านี้ งานวิจัยนี้นำเสนอ สถาปัตยกรรมแบบผสมสาหรับการประมวลผลบันทึกของระบบงานขนาดใหญ่โดยใช้ Apache Spark สำหรับทำการประมวลผลข้อมูล และ Apache Flume สำหรับการจัดการกับข้อมูล โดยใช้การตรวจจับความผิดปรกติโดยใช้แบบจำลองเวลาซาริมา มาทดสอบและประเมินระบบ ซึ่งสถาปัตยกรรมที่นำเสนอจะประมวลผลทั้งในรูปแบบ Batch และ Real-Time จากผลการทดสอบพบว่า การใช้สถาปัตยกรรมแบบผสมสำหรับการประมวลผลบันทึกของระบบงานขนาดใหญ่นั้น สามารถช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานกับบันทึกของระบบงานขนาดใหญ่ได้ดียิ่งขึ้น โดยสามารถประมวลผลข้อมูลที่มีขนาดใหญ่แล้วนำมาสร้างแบบจำลองที่มีความซับซ้อน เพื่อใช้ทำการตรวจจับความผิดปรกติอย่างมีประสิทธิภาพ ภายในระยะเวลาที่จำกัด | en_US |
dc.description.abstractalternative | Log processing can be very challenging, especially for environments with lots of servers. In these environments, log data is large, coming at high-speed, and have various formats, the classic case of big data problem. This makes big data log processing very difficult. For example, anomaly detection needs to process both latest data and historical data. To get good accuracy, large amount of data must be processed in real-time. To solve this problem, this research proposes a hybrid architecture for log anomaly detection using Apache Spark for data processing and Apache Flume for data collecting. To demonstrate the capabilities of our proposed solution, we implement a SARIMA-based anomaly detection as a case study. The experimental results clearly indicated that our proposed architecture can support log processing in large-scale environment effectively. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2015.592 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | การประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ | |
dc.subject | การจัดการฐานข้อมูล | |
dc.subject | สถาปัตยกรรมซอฟต์แวร์ | |
dc.subject | Electronic data processing | |
dc.subject | Database management | |
dc.subject | Software architecture | |
dc.title | สถาปัตยกรรมแบบผสมสำหรับการประมวลผลบันทึกของระบบงานขนาดใหญ่ | en_US |
dc.title.alternative | Hybrid architecture for large scale log processing | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Natawut.N@Chula.ac.th,natawut@chula.ac.th | en_US |
dc.email.advisor | Krerk.P@Chula.ac.th | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2015.592 | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5670311621.pdf | 2.99 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.