Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50842
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิภาวี ธรรมาภรณ์พิลาศen_US
dc.contributor.authorวรรณฤดี อินทนะนกen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2016-12-02T02:04:57Z-
dc.date.available2016-12-02T02:04:57Z-
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50842-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558en_US
dc.description.abstractกระบวนการสกรีนโลหะบัดกรีเป็นกระบวนการผลิตหลักกระบวนการหนึ่งของการผลิตแผงวงจรไฟฟ้าสำหรับเครื่องกระตุกหัวใจ ค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์ปริมาตรของโลหะบัดกรีที่เบี่ยงเบนไปจากขีดจำกัดข้อกำหนดเป็นสาเหตุหลักทำให้ของเสียเพิ่มสูงขึ้นและส่งผลต่อปัญหาด้านคุณภาพของแผงวงจรไฟฟ้า งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อลดของเสียจากกระบวนการสกรีนโลหะบัดกรีที่เกิดขึ้นกับแผงวงจรไฟฟ้าด้านล่างและด้านบน การออกแบบการทดลองแบบแฟคทอเรียลบางส่วนถูกนำมาใช้เพื่อคัดกรองปัจจัย 6 ปัจจัยหลักในกระบวนการสกรีนโลหะบัดกรีประกอบด้วย (1) ความเร็วที่ใช้ในการสกรีน (2) แรงที่ใช้ในการสกรีน (3) ความเร็วในการแยกออกของการสกรีน (4) ระยะทางในการแยกออกของการสกรีน (5) ขนาดของใบปาด และ (6) อายุการใช้งานของโลหะบัดกรี วิธีการพื้นผิวตอบสนองด้วยการออกแบบการทดลองแบบ บ็อกซ์-เบห์นเคน ถูกนำมาใช้เพื่อหาค่าที่เหมาะสมที่สุดแก่ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อตัวแปรตอบสนองของแผงวงจรด้านล่างและด้านบน การทดลองเพื่อยืนยันผลของเงื่อนไขที่ได้ พบว่า ค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์ปริมาตรโลหะบัดกรีบนแผงวงจรด้านล่างอยู่ที่ 102 เปอร์เซ็นต์ใกล้เคียงกับค่าเป้าหมายที่ 100 เปอร์เซ็นต์ และจำนวนของเสียลดลงจากเดิม 3 เปอร์เซ็นต์มาอยู่ที่ 1 เปอร์เซ็นต์ นอกจากนี้การทดลองเพื่อยืนยันผลของแผงวงจรด้านบน พบว่า ค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์ปริมาตรโลหะบัดกรีบนแผงวงจรด้านบนอยู่ที่ 105 เปอร์เซ็นต์ใกล้เคียงค่าเป้าหมายที่ 100 เปอร์เซ็นต์ และมีจำนวนของเสียลดลงจากเดิม 2 เปอร์เซ็นต์มาอยู่ที่ 0 เปอร์เซ็นต์en_US
dc.description.abstractalternativeSolder paste screen printing process is one of the major processes in print circuit board assembly (PCBA) for defibrillator. The average percentage volume of solder paste deviated from specification limits is the main cause of increasing soldering defects and impacting PCBA quality. The objective of this paper is to reduce defectives from solder paste screen printing process in PCBA bottom and top sides. Fractional Factorial Design was employed in the experiment of screening six main process factors including (1) Screening Speed (2) Screening Force (3) Snap off Speed (4) Snap off Distance (5) Squeegee Size and (6) Solder paste shelf life. Response Surface Methodology with Box-Behnken experimental design was used to find the best conditions of significant factors that affect the response of PCBA bottom and top sides. The evaluation was performed to confirm the optimal conditions. The analysis found that the average percentage volume of solder paste on bottom side is 102 percentage closed to the target of 100 percentage and soldering defects reduce from 3 percentage to 1 percentage. In addition, the evaluation was performed to confirm the optimal conditions of top side found that the average percentage volume of solder paste is 105 percentage closed to the target of 100 percentage and soldering defects reduce from 2 percentage to 0 percentage.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleการกำหนดเงื่อนไขที่เหมาะสมในการลดของเสียในกระบวนการสกรีนโลหะบัดกรีen_US
dc.title.alternativeDETERMINE PROPER CONDITIONS TO REDUCE DEFECTIVES IN A SOLDER PASTE SCREEN PRINTING PROCESSen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorWipawee.T@Chula.ac.th,wipawee.tha@gmail.com,wipawee.t@chula.ac.then_US
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5670952921.pdf7.88 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.