Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50875
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเพ็ญนภา แดงด้อมยุทธ์en_US
dc.contributor.authorกาญจนา เสวิคารen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2016-12-02T02:05:40Z-
dc.date.available2016-12-02T02:05:40Z-
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50875-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความจำของผู้ป่วยจิตเภทเรื้อรังและความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรร ได้แก่ อายุ เพศ ระยะเวลาการเจ็บป่วย การใช้สารเสพติด อาการทางบวก อาการทางลบ การปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน ความเครียด กับความจำของผู้ป่วยจิตเภทเรื้อรัง กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยโรคจิตเภทเรื้อรังที่มารับการรักษาในโรงพยาบาลจิตเวช จำนวน 154 คน โดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช่ในการวิจัยมีดังนี้ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบประเมินสมรรถภาพสมองฉบับ ภาษาไทย แบบประเมินและวิเคราะห์ความเครียดด้วยตนเอง แบบวัดอาการทางบวก แบบวัดอาการทางลบ และ แบบประเมินการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน สรุปผลการวิจัยที่สำคัญ ได้ดังนี้ 1. ความจำของผู้ป่วยจิตเภทเรื้อรังอยู่ในระดับปานกลาง มีค่าเฉลี่ย (Mean=20.62) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) 4.08 2. ระยะเวลาการเจ็บป่วย ความเครียด อาการทางบวก และอาการทางลบ มีความสัมพันธ์ทางลบกับความจำในผู้ป่วยจิตเภทเรื้อรังอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = - .54, -.34, -.50 และ-.45 ตามลำดับ) 3. อายุ เพศ การปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน การใช้สารเสพติด ไม่มีความสัมพันธ์กับความจำในผู้ป่วยจิตเภทเรื้อรังen_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research were to study the memory of chronic schizophrenic patients and relationship among selected factors including age, gender , duration of illness, using drug substance, positive symptom, negative symptom, activity daily living, stress, and memory of chronic schizophrenic patients. The subjects were 154 persons with chronic schizophrenia at Psychiatric hospital. They were selected by simple random sampling technique. Data was collected by using the Demographic Data Form. Mini-mental State Examination, Stress questionnaire, Positive symptom Scale, Negative symptom Scale, Barthel Index of Activity of daily living. Statistical technique used in data analysis were Frequency, Percent, Mean, Standard deviation, Pearson’s product Moment correlation. Major findings were as follows ; 1. The level of memory of chronic schizophrenic patients were moderate (Mean=20.62, S.D.=4.08) 2. Duration of illness, stress, Positive symptom, negative symptom were negatively correlated to memory of chronic schizophrenic patients at level .05 (r = - .54, -.34, - .50 and -.45 respectively) 3. Age, gender, activity of daily living, using drug substance were not significantly related to memory of chronic schizophrenic patientsen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2015.729-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectผู้ป่วยจิตเภท-
dc.subjectความจำ-
dc.subjectSchizophrenics-
dc.subjectMemory-
dc.titleปัจจัยคัดสรรที่มีความสัมพันธ์กับความจำของผู้ป่วยจิตเภทเรื้อรังen_US
dc.title.alternativeSELECTED FACTORS RELATED TO MEMORY OF CHRONIC SCHIZOPHRENIC PATIENTSen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineพยาบาลศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorPennapa.D@Chula.ac.th,dnayus@yahoo.com,dnayus@yahoo.comen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2015.729-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5677154736.pdf3.3 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.