Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50895
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณัฐสุดา เต้พันธ์en_US
dc.contributor.advisorกุลยา พิสิษฐ์สังฆการen_US
dc.contributor.authorยรัตน์ดุล เลาห์วีระพานิชen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยาen_US
dc.date.accessioned2016-12-02T02:06:01Z
dc.date.available2016-12-02T02:06:01Z
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50895
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความขัดแย้งระหว่างผู้ปกครองกับสุขภาวะทางจิตโดยมีการพัฒนาความงอกงามแห่งตนเป็นตัวแปรส่งผ่านในนิสิตนักศึกษาจำนวน 400 คน โดยมีเพศชาย 165 คนและเพศหญิง 235 คน ผลการวิจัยพบว่าการรับรู้ความขัดแย้งระหว่างผู้ปกครองมีความสัมพันธ์ทางลบกับสุขภาวะทางจิต (r = -.11, p <.05) การรับรู้ความขัดแย้งในผู้ปกครองมีความสัมพันธ์ทางลบกับการพัฒนาความงอกงามแห่งตน (r = -.11, p < .05) และการพัฒนาความงอกงามแห่งตนมีความสัมพันธ์ทางบวกกับสุขภาวะทางจิต (r = .47, p < .001) นอกจากนี้ผลการวิเคราะห์ตัวแปรส่งผ่าน พบว่าการรับรู้ความขัดแย้งระหว่างผู้ปกครองจะไม่ส่งผลโดยตรงต่อสุขภาวะทางจิตในระดับ -1.36 (p = .18) และการรับรู้ความขัดแย้งระหว่างผู้ปกครองส่งผลทางอ้อมผ่านการพัฒนาความงอกงามแห่งตนไปยังสุขภาวะทางจิตอยู่ในระดับ -0.04 (p < .05) เมื่อมีการพัฒนาความงอกงามแห่งตนเป็นตัวแปรส่งผ่านการรับรู้ความขัดแย้งระหว่างผู้ปกครองกับสุขภาวะทางจิต จึงอาจสรุปได้ว่า การพัฒนาความงอกงามแห่งตนมีบทบาทเป็นตัวแปรส่งผ่านสมบูรณ์ของความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความขัดแย้งระหว่างผู้ปกครองกับสุขภาวะทางจิตในนิสิตนักศึกษาen_US
dc.description.abstractalternativeThis study aimed to investigate the relationship between perception of inter-parental conflict and psychological well-being of undergraduates with personal growth initiative as mediating variable. Participants were 400 undergraduates from Chulalongkorn University (165 males and 235 females). Results showed inter-parental conflict perception was negatively associated with psychological well-being (r = -.11, p <.05). Similarly, the perception had a negative association with personal growth initiative (r = -.11, p <.05). Lastly, personal growth initiative had a positive correlation with psychological well-being. Results from mediation analysis showed that personal growth initiative full mediated the association between inter-parental conflict and psychological well-being of the participants.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2015.812-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectความขัดแย้งระหว่างบุคคล
dc.subjectครอบครัว
dc.subjectสุขภาวะ -- แง่จิตวิทยา
dc.subjectInterpersonal conflict
dc.subjectDomestic relations
dc.subjectWell-being -- Psychological aspects
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความขัดแย้งระหว่างผู้ปกครองกับสุขภาวะทางจิตของนิสิตนักศึกษาโดยมีการริเริ่มพัฒนาความงอกงามแห่งตนเป็นตัวแปรส่งผ่านen_US
dc.title.alternativeThe relationship between perception of inter-parental conflict and psychological well-being of undergraduates : the mediating effect of personal growth initiativeen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineจิตวิทยาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorNattasuda.T@Chula.ac.th,tnattasuda@gmail.comen_US
dc.email.advisorKullaya.D@Chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2015.812-
Appears in Collections:Psy - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5677621438.pdf4.55 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.