Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50932
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปองสิน วิเศษศิริen_US
dc.contributor.advisorพฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์en_US
dc.contributor.authorกรรณิการ์ เชิงยุทธ์en_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์en_US
dc.coverage.spatialไทย-
dc.date.accessioned2016-12-02T02:06:45Z-
dc.date.available2016-12-02T02:06:45Z-
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50932-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษากรอบแนวคิด 2) ศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ 3) พัฒนากลยุทธ์การบริหารโรงเรียนประถมศึกษาในการส่งเสริมสุขภาพชุมชนแบบองค์รวม โดยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน ประชากรได้แก่ โรงเรียนประถมศึกษา สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จำนวน 279 แห่ง เครื่องมือการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามแบบประเมิน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานค่าดัชนี PNIModified และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) กรอบแนวคิดการบริหารโรงเรียนประถมศึกษาในการส่งเสริมสุขภาพชุมชนแบบองค์รวม ประกอบด้วย (1) องค์ประกอบการบริหารการส่งเสริมสุขภาพชุมชน ได้แก่ การจัดทำนโยบายด้านสุขภาพ การจัดการเรียนรู้สุขภาพและพลศึกษา การจัดบริการและการให้คำปรึกษาด้านสุขภาพ การจัดอาหารและโภชนาการ การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพและการสร้างภาคีเครือข่ายด้านสุขภาพ (2) แนวคิดสุขภาพชุมชนแบบองค์รวม ได้แก่ แนวคิดสุขภาพชุมชนแบบองค์รวมในมิติที่เกี่ยวข้องกับด้านบุคคล แบ่งออกเป็น 3 ระดับ ได้แก่ ระดับบุคคล ระดับสถานศึกษาและระดับชุมชน แนวคิดสุขภาพชุมชนแบบองค์รวมในมิติที่เกี่ยวข้องกับด้านสุขภาพอนามัย ได้แก่ สุขภาพทางกาย สุขภาพทางจิต สุขภาพทางสังคมและสุขภาพทางจิตวิญญาณ 2) สภาพปัจจุบันพบว่าอยู่ในระดับ ปานกลาง และสภาพที่พึงประสงค์พบว่าอยู่ในระดับมาก 3) กลยุทธ์การบริหารโรงเรียนประถมศึกษาในการส่งเสริมสุขภาพชุมชนแบบองค์รวม ประกอบด้วย 6 กลยุทธ์หลัก 18 กลยุทธ์รอง กลยุทธ์หลัก คือ (1) กลยุทธ์เสริมสร้างความเข้มแข็งของภาคีเครือข่ายสุขภาพแบบองค์รวม (2) กลยุทธ์เพิ่มขีดความสามารถการจัดบริการและการให้คำปรึกษาด้านสุขภาพแบบองค์รวม (3) กลยุทธ์ยกระดับการขับเคลื่อนนโยบายด้านสุขภาพแบบองค์รวม (4) กลยุทธ์ยกระดับการส่งเสริมการจัดอาหารและโภชนาการด้านสุขภาพแบบองค์รวม (5) กลยุทธ์พัฒนาการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพแบบองค์รวม (6) กลยุทธ์ปฏิรูปการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษาแบบองค์รวมen_US
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were 1) to investigate the conceptual framework; 2) to explore the current and desirable situation; and 3) to develop elementary school management strategies on holistic community health promotion. The research adopted a mixed methods approach. The population included 279 elementary schools under the local administrative authority. The research instruments were a questionnaire and an evaluation form. The statistical analysis involved frequency, percentage, mean, standard deviation, PNIModified and a content analysis. The results were as follows. 1) The conceptual framework of elementary school management of holistic community health promotion consisted of (1) the elements of community health management including health policy formulation, management of learning on health education and physical education, management of health services and counseling, management of food and nutrition, management of supportive environment for health, and establishment of partnerships and networks for health; (2) the concept of holistic community health involving the concept of holistic community health in individual related dimension comprising 3 levels, i.e. individual level, school level, and community level; and the concept of holistic community health in health related dimension, i.e. physical health, mental health, social health, and spiritual health. 2) The current situation was at moderate level, while the desirable situation was at high level. 3) The elementary school management strategies on holistic community health promotion contained 6 main strategies and 18 sub-strategies. The main strategies comprised: (1) strategy on strengthening health partnerships and networks in holistic health; (2) strategy on enhancing the capacity on management of health service and counseling on holistic health; (3) strategy on leveraging the driven holistic health policy; (4) strategy on leveraging the promotion of food and nutrition management for holistic health; (5) strategy on developing the management of supportive environment for holistic health; and (6) strategy on reforming the management of learning on health education and physical education for holistic health.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2015.1159-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectชุมชนกับโรงเรียน -- ไทย-
dc.subjectการบริหารโรงเรียนประถมศึกษา-
dc.subjectโรงเรียน -- การบริหาร-
dc.subjectการส่งเสริมสุขภาพ-
dc.subjectโรงเรียนประถมศึกษา -- บริการส่งเสริมสุขภาพ -- ไทย-
dc.subjectCommunity and school -- Thailand-
dc.subjectElementary school administration-
dc.subjectSchool management and organization-
dc.subjectHealth promotion-
dc.subjectElementary schools -- Health promotion services -- Thailand-
dc.subjectปริญญาดุษฎีบัณฑิต-
dc.titleกลยุทธ์การบริหารโรงเรียนประถมศึกษาในการส่งเสริมสุขภาพชุมชนแบบองค์รวมen_US
dc.title.alternativeELEMENTARY SCHOOL MANAGEMENT STRATEGIES ON PROMOTING HOLISTIC COMMUNITY HEALTHen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาเอกen_US
dc.degree.disciplineบริหารการศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorPongsin.V@Chula.ac.th,v.pongsin@gmail.comen_US
dc.email.advisorPruet.S@Chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2015.1159-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5684251027.pdf8.55 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.