Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50947
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวีรชาติ เปรมานนท์en_US
dc.contributor.authorยุทธพงศ์ แสงสมบูรณ์en_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะศิลปกรรมศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2016-12-02T02:07:09Z
dc.date.available2016-12-02T02:07:09Z
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50947
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศป.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558en_US
dc.description.abstractการผสมผสานการใช้เสียงสังเคราะห์จากเครื่องดนตรีอิเล็กโทนรุ่นสเตเจียกับเสียงจากวงซิมโฟนีออร์เคสตราเพื่อรังสรรค์ผลงานดนตรีที่สะท้อนตำนานเก่าแก่ของวัดเจดีย์หลวงวรวิหาร วัดเก่าแก่คู่บ้านคู่เมืองเชียงใหม่ ถือเป็นการสร้างงานต้นแบบทางดนตรีที่มีรูปแบบนวัตกรรมใหม่และเป็นงานสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการที่นำเสนอรูปแบบการผสมสีสันเสียงดนตรีแบบ อิเล็กโทรอะคูสติกและ อะคูสติกสู่วงการวิชาการระดับชาติและนานาชาติ การใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามาสนับสนุนงานสร้างสรรค์ดนตรี ถือว่ามีประโยชน์ต่องานประพันธ์ดนตรีของนักประพันธ์ในอนาคต การจำลองผลงานในจินตภาพผ่านโปรแกรมคอมพิวเตอร์ สามารถช่วยให้ผู้ประพันธ์สามารถฟังผลงานการสร้างสรรค์โดยองค์รวมเพื่อวิเคราะห์พัฒนารวมถึงการแก้ไขปัญหาในแต่ละขั้นตอนของการประพันธ์ได้ง่ายขึ้น หากเปรียบเทียบกับการเขียนโน้ตจากดนตรีในแบบดั้งเดิม ผู้วิจัยได้สร้างสรรค์บทเพลง ดุษฎีนิพนธ์งานประพันธ์เพลง: เกตุเมือง วัดเจดีย์หลวง สำหรับเดี่ยวสเตเจียและวงซิมโฟนีออร์เคสตราแบ่งออกเป็น 5 องก์ที่มีลักษณะการใช้สีสันเสียงต่างกันตามลักษณะการบรรเลง โดยเริ่มต้นการประพันธ์จากการสร้างแผนที่ความคิด จำลองดนตรีจากจินตภาพผ่านโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เขียนโน้ตเพลงแต่ละองก์ และออกแบบการแสดง ซึ่งการใช้เทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทในการทำงาน นอกจากจะสามารถลดข้อผิดพลาดในการประพันธ์แล้ว ยังช่วยให้นักประพันธ์สามารถพัฒนาศักยภาพในการคิดต่อยอดได้อย่างมีขั้นตอน สามารถตรวจสอบความถูกต้องและฟังผลงานจากจินตภาพได้ตลอดระยะเวลาที่สร้างงาน อย่างไรก็ตาม การถ่ายทอดผลงานจากการบรรเลงบทเพลงด้วยอารมณ์บทเพลงที่เต็มเปี่ยม ยังคงเป็นหัวใจสำคัญในการที่จะสร้างสรรค์งานดนตรีที่ไพเราะงดงาม ยิ่งไปกว่านั้นการสร้างงานประพันธ์ที่เกี่ยวกับเรื่องราวตำนานพื้นบ้านล้านนา ยังถือเป็นการ อนุรักษ์ศิลปะวัฒนธรรมท้องถิ่นที่เป็นความภูมิใจของชาวเชียงใหม่ และผู้วิจัยคาดหวังที่จะให้งานวิจัยนี้จะได้มีการนำไปศึกษาพัฒนาต่อยอดได้ในอนาคตen_US
dc.description.abstractalternativeThe composition of new music which incorporates the sounds of Electone STAGEA and symphony orchestra to illustrate the legend of “Wat Chediluang” – the ancient temple in Chiangmai province– is regarded internationally as an innovative approach; one which introduces the adoption of a tone color of acoustic and electroacoustic elements. The utilization of new technologies in music composition is very useful for the new generation’s composers. The composer can create music via computer software. Furthermore, reviewing and analyzing virtual music and solving any problems during the composition process become easier when compared to the traditional way of music composing. A Doctorate Music Composition: LEGEND OF WAT CHEDILUANG FOR STAGEA AND SYMPHONY ORCHESTRA is a new composition which has 5 movements with their own orchestral context. The composition process starts from designing the draft music which illustrates the composer’s mind map. Next, virtual music is created via computer software to reflect the composer’s imagination based on the idea from the draft music, and then the score will be written. The designing of the show is settled as the last step. The application of music technology as a tool in the composing process not only reduces problems during each step, it also improves the composer’s abilities to work methodologically. Although using technology is very helpful, the essence of music composition lies in the portrayal of musical context, especially in composing the music for the ‘Lanna’ urban legend, which is regarded as the conservation of Chiangmai art and culture. Hopefully, this thesis will serve as the basis for further research and development in the future.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2015.621-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการแต่งเพลง
dc.subjectวงดุริยางค์ซิมโฟนี
dc.subjectComposition (Music)
dc.subjectSymphony orchestras
dc.titleดุษฎีนิพนธ์งานประพันธ์เพลง: เกตุเมือง วัดเจดีย์หลวง สำหรับเดี่ยวสเตเจียและวงดุริยางค์ซิมโฟนีen_US
dc.title.alternativeA doctorate music composition : legend of Wat Chediluang for stagea and symphony orchestraen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาเอกen_US
dc.degree.disciplineศิลปกรรมศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorWeerachat.P@Chula.ac.th,drwpremananda@yahoo.comen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2015.621-
Appears in Collections:Fine Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5686814735.pdf25.75 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.