Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50961
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธราธร มงคลศรีen_US
dc.contributor.authorปพิชญากรณ์ ตันถาวรen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2016-12-02T02:07:24Z
dc.date.available2016-12-02T02:07:24Z
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50961
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้สนใจศึกษาความเป็นไปได้ในการกำจัดเบนซีนของตัวเร่งปฏิกิริยา V2O5 – MoO3/TiO2 ที่เตรียมโดยวิธีการเคลือบฝังแบบเปียก (Wet impregnation) และทำการวิเคราะห์คุณลักษณะของตัวเร่งปฏิกิริยาด้วยเทคนิค ICP-OES single point BET XRD และ NH3-TPD ทำการทดลองในระบบเบดนิ่ง โดยแบ่งศึกษาความสามารถของตัวเร่งปฏิกิริยาใน 2 ระบบ คือ ระบบเดี่ยวที่แยกศึกษาปฏิกิริยาการออกซิไดซ์เบนซีน เพื่อพิจารณาการกำจัดเบนซีนและเบนซีนไปเป็นคาร์บอนไดออกไซด์ กับปฏิกิริยา SCR เพื่อพิจารณาการกำจัดไนตริกออกไซด์ และระบบร่วมที่ศึกษาปฏิกิริยาการออกซิไดซ์เบนซีนไปพร้อมกันกับปฏิกิริยา SCR ความสามารถในการทำปฏิกิริยาของตัวเร่งปฏิกิริยาได้รับการประเมินในช่วงอุณหภูมิการทำปฏิกิริยาที่ 120 – 450 oC ผลการทดสอบพบว่า ในระบบเดี่ยวนั้นตัวเร่งปฏิกิริยา 2V12Mo ให้ค่าการกำจัดเบนซีน และค่าการเปลี่ยนเบนซีนไปเป็นคาร์บอนไดออกไซด์ที่สูงที่สุด ในขณะที่ในกรณีของปฏิกิริยา SCR ตัวเร่งปฏิกิริยา 2V14Mo มีค่าการกำจัดไนตริกออกไซด์สูงที่สุดในช่วงอุณหภูมิ 250 – 300 oC และเมื่อพิจารณาที่ระบบร่วมในการกำจัดเบนซีนไปพร้อมกับไนตริกออกไซด์พบว่าตัวเร่งปฏิกิริยา 2V12Mo มีความเหมาะสมที่สุดเพราะให้ประสิทธิภาพในการกำจัดไนตริกออกไซด์และเบนซีน รวมถึงคาร์บอนไดออกไซด์ได้สูงในช่วงอุณหภูมิการทำงานเท่ากับ 250 - 350 oCen_US
dc.description.abstractalternativeThis research aims to investigate the feasibility study of benzene removal using V2O5 – MoO3/TiO2 . The catalysts are prepared by the wet impregnation method and characterized by ICP-OES, single point BET, XRD and NH3-TPD techniques. The experiment carried out in a stainless steel fix bed reactor. Firstly, the catalyst activity for benzene oxidation and NO reduction are separately evaluated. Then, the simultaneous removal of benzene and NO of each catalyst is performed. The reaction temperature is between 120 – 450 oC. The experimental results reveal that, in the separate system 2V12Mo has the highest benzene conversion and benzene conversion to CO2 while 2V14Mo has the highest NO conversion in the temperature range 250 – 300 oC. In the combine system 2V12Mo is the appropriate catalyst for converting benzene to CO2 and NO removal.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2015.1376-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเบนซิน ออกซิเดชัน
dc.subjectไนตริกออกไซด์
dc.subjectโรงงาน -- การกำจัดของเสีย
dc.subjectBenzene Oxidation
dc.subjectNitric oxide
dc.subjectFactories -- Waste disposal
dc.titleการศึกษาความเป็นไปได้ในการกำจัดเบนซีนจากแก๊สปล่อยทิ้งด้วยตัวเร่งปฏิกิริยา V2O5 - MoO3/TiO2en_US
dc.title.alternativeFeasibility study of benzene removal from an exhaust gas using V2O5 - MoO3/TiO2 catalysten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเคมีen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorTharathon.M@Chula.ac.th,Tharathon.M@chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2015.1376-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5770217421.pdf2.78 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.