Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5102
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เพียรพรรค ทัศคร | - |
dc.contributor.author | วาทิต ศาสตระวาทิต | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2007-12-21T07:18:51Z | - |
dc.date.available | 2007-12-21T07:18:51Z | - |
dc.date.issued | 2542 | - |
dc.identifier.isbn | 9743331689 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5102 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 | en |
dc.description.abstract | แนวทางหนึ่งในการใช้ประโยชน์จากยางธรรมชาติ คือการเปลี่ยนโมเลกุลของพอลิไอโซปรีนให้เป็นสารเคมี สำหรับเป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมอื่นๆ การศึกษาปฏิกิริยาการแตกตัวของยางธรรมชาติ RRIM 600 ภายใต้ความดันบรรยากาศ โดยเปรียบเทียบผลระหว่างการแตกตัวด้วยความร้อน กับการแตกตัวด้วยตัวเร่งปฏิกิริยาเหล็ก-คาร์บอน ทดลองที่อุณหภูมิ 250-300 องศาเซลเซียส เวลาในการทำปฏิกิริยา 1-3 ชั่วโมง พบว่าการใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาเหล็ก-คาร์บอน ให้ผลที่ไม่แตกต่างจาก การแตกตัว ด้วยความร้อนอย่างมีนัยสำคัญ ยางธรรมชาติที่นำมาทำปฏิกิริยาการแตกตัวด้วยความร้อน ที่อุณหภูมิ 300 องศาเซลเซียส เวลาในการทำปฏิกิริยา 2 ชั่วโมง ภายใต้ความดันบรรยากาศ น้ำหนักโมเลกุลก่อนการแตกตัวประมาณ 10 6 จะเปลี่ยนเป็นสารประกอบที่มีน้ำหนักโมเลกุลเฉลี่ยประมาณ 1500 และเมื่อใช้ฟูริเออร์ ทรานสฟอร์ม อินฟราเรดสเปกโทรมิเตอร์ ตรวจสอบ พบว่าสารที่ได้หลังจากปฏิกิริยามีหมู่ฟังก์ชัน เหมือนกับยางธรรมชาติเริ่มต้น | en |
dc.description.abstractalternative | As an alternative utilization, natural rubber can be converted to chemical raw materials for other industry. A study on natural rubber cracking using iron-carbon catalyst indicates that at a temperature of 250-30 ํC and reaction time of 1-3 hours there is no significant difference from thermal cracking. It was found that for reaction temperature of 300 ํC, reaction time of 2 hours under atmospheric pressure, natural rubber with original average molecular weight of 10 6 is cracked to hydrocarbons of average molecular weight of 1500. Using Fourrier transform infrared spectroscopy to identify functional groups of the product, the result shows similar groups as the original natural rubber. | en |
dc.format.extent | 4481905 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | ยางพารา | en |
dc.subject | โพลิเมอร์ | en |
dc.title | การแตกตัวด้วยความร้อนของยางธรรมชาติโดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาเหล็ก-คาร์บอน | en |
dc.title.alternative | Thermal cracking of natural rubber using iron-carbon catalyst | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | เคมีเทคนิค | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | pienpak.T@chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Sci - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
wathit.pdf | 4.38 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.