Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51095
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสราวุธ อนันตชาติen_US
dc.contributor.authorรพีพรรณ ลีสุวัฒน์en_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2016-12-02T02:10:38Z
dc.date.available2016-12-02T02:10:38Z
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51095
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณและใช้วิธีวิจัยเชิงสำรวจ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง (1) ปัจจัยเชิงสาเหตุของผู้บริโภค อันได้แก่ การยอมรับเทคโนโลยี บรรทัดฐานของสังคม ความพึงพอใจต่อการบริการ และแรงจูงใจในการบอกต่อผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ กับทัศนคติในการบอกต่อผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ในธุรกิจบริการ และ (2) ทัศนคติในการบอกต่อผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ กับความตั้งใจในการบอกต่อผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ในธุรกิจบริการ โดยใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งเป็นเพศชายและหญิงที่มีอายุระหว่าง 22-34 ปี ในเขตกรุงเทพมหานคร และเป็นผู้ที่เคยทำการบอกต่อผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์เกี่ยวกับธุรกิจบริการที่กำหนดไว้อย่างใดอย่างหนึ่ง คือ ธุรกิจร้านอาหาร หรือธุรกิจผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ ภายในระยะเวลา 6 เดือนที่ผ่านมา จำนวนรวม 400 คน ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยเชิงสาเหตุของผู้บริโภคทั้งการยอมรับเทคโนโลยี บรรทัดฐานของสังคม ความพึงพอใจต่อการบริการ และแรงจูงใจในการบอกต่อผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับทัศนคติในการบอกต่อผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์เกี่ยวกับธุรกิจบริการทั้งสองประเภทอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ อีกทั้งทัศนคติในการบอกต่อผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับความตั้งใจในการบอกต่อผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์เกี่ยวกับธุรกิจบริการทั้งสองประเภทอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติen_US
dc.description.abstractalternativeThis survey research had two objectives to study: (1) the relationships between antecedents (which consisted of technology acceptance, subjective norms, service satisfaction, and motivations to articulate electronic word of mouth) and attitude towards electronic word of mouth, and (2) the relationship between attitude towards electronic word of mouth and behavioral intention to use electronic word of mouth. Self-administered questionnaires were used to collect data from 400 males and females, aged 22 to 34 years old in Bangkok, who had articulated electronic word of mouth about either restaurants or mobile service providers, in the last six months. The findings of the study showed that all antecedents, that is, technology acceptance, subjective norms, service satisfaction and motivations to articulate electronic word of mouth, were significantly positive correlated with attitude towards electronic word of mouth in both service businesses. In addition, attitude towards electronic word of mouth were positively correlated with behavioral intention to use electronic word of mouth in both service businesses.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2015.981-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectงานบริการ
dc.subjectสื่ออิเล็กทรอนิกส์
dc.subjectการสื่อสารด้วยระบบดิจิทัล
dc.subjectผู้บริโภค -- ทัศนคติ
dc.subjectHuman services
dc.subjectDigital media
dc.subjectDigital communications
dc.subjectConsumers -- Attitudes
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยเชิงสาเหตุ ทัศนคติและความตั้งใจในการบอกต่อผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ในธุรกิจบริการen_US
dc.title.alternativeRelationships between antecedents, attitude, and behavioral intention on electronic word of mouth in service businessen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิเทศศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSaravudh.A@Chula.ac.th,Saravudh.A@chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2015.981-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5784675528.pdf5.1 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.