Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51263
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จิรยุทธ์ สินธุพันธุ์ | en_US |
dc.contributor.author | นวัช รัตนบรรณกิจ | en_US |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2016-12-02T06:03:30Z | |
dc.date.available | 2016-12-02T06:03:30Z | |
dc.date.issued | 2558 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51263 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการสร้างสรรค์งานของนักออกแบบเสียง ภาพยนตร์ไทย 5 คน โดยวิเคราะห์ภาพยนตร์ 15 เรื่อง คัดเลือกจากผลงานภาพยนตร์ของนักออกแบบเสียงคนละ 3 เรื่อง ให้ครอบคลุมภาพยนตร์ไทยหลากหลายประเภท ผลการวิจัยพบระบบการทำงานของนักออกแบบเสียงภาพยนตร์ไทย 2 กลุ่ม ได้แก่ 1) นักออกแบบเสียงระบบสตูดิโอ 2) นักออกแบบเสียงระบบอิสระ กลุ่มนักออกแบบเสียงระบบสตูดิโอ พบจุดร่วมในการออกแบบเสียงคือ 1) ออกแบบเสียง จากมุมมองบุคคลที่หนึ่ง 2) ปรับภูมิทัศน์ทางเสียงเน้นความชัดเจน(Clarity) 3) ใช้เสียงประกอบ แบบ Non-diegetic sound เสริมอารมณ์ หรือเสียงประกอบที่แหล่งกำเนิดเสียงไม่อยู่ ในโลกภาพยนตร์ กลุ่มนักออกแบบเสียงระบบอิสระ พบจุดร่วมในการออกแบบเสียงคือ 1) ออกแบบเสียงจากมุมมองบุคคลที่สาม 2) ไม่ใช้เสียงประกอบจากคลังข้อมูลหรือ Library และ 3) การออกแบบเสียงเชิงทดลอง จากการวิเคราะห์ภาพรวมของการออกแบบเสียงภาพยนตร์ไทย พบเอกลักษณ์ในการออกแบบเสียงภาพยนตร์ได้แก่ 1) การออกแบบเสียงตามลักษณะ สภาพแวดล้อมในประเทศไทย 2)เอกลักษณ์การออกแบบเสียงในภาพยนตร์ตลกประเทศไทย และ 3) การออกแบบเสียงประกอบกับความเชื่อเรื่องผี นอกจากนั้นยังพบว่า นักออกแบบเสียงต้องมีการปรับเปลี่ยนการออกแบบเสียง เพื่อตอบสนองต่อภาพยนตร์ต่างวัฒนธรรม ได้แก่ 1) การออกแบบเสียงเพื่อรสนิยมการฟังที่แตกต่างกัน 2) การออกแบบเสียง Option track หรือเสียงตัวประกอบในฉาก | en_US |
dc.description.abstractalternative | This study was aimed to examine the creative process of 5 Thai film sound designers by analyzed 15 films including various genre. Researcher analyzed 3 works per one Thai film sound designer. The finding showed Thai film sound designers have 2 types: studio sound designers and independent sound designers. Studio sound designers present 1) first person view 2) clarity soundscape 3) non-diegetic sound while independent sound designers present 1) third person view 2) not using sound from library 3) experimental sound design. Identities of Thai film sound design are 1) sound design depending on Thai environment 2) identity of sound design in comedy film 3) sound design and superstition. Moreover, sound designers have to adjust themselves for different culture considering to 1) listening taste and 2) optional track (Extras's sounds). | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2015.1006 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ภาพยนตร์ -- การจัดเสียงประกอบ | |
dc.subject | เสียง -- การออกแบบ | |
dc.subject | Motion pictures -- Sound effects | |
dc.subject | Sounds -- Design | |
dc.title | กระบวนการสร้างสรรค์งานของนักออกแบบเสียงภาพยนตร์ไทย | en_US |
dc.title.alternative | The creative process of Thai film sound designers | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | นิเทศศาสตร์ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Jirayudh.S@Chula.ac.th,Jirayudh.S@Chula.ac.th | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2015.1006 | - |
Appears in Collections: | Comm - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5584677628.pdf | 5.53 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.