Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51305
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorฉัตรวรรณ์ ลัญฉวรรธนะกรen_US
dc.contributor.authorภัทราพร พันธ์สิวกานต์en_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2016-12-02T06:04:25Z
dc.date.available2016-12-02T06:04:25Z
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51305
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการใช้เทคนิคการสอนโดยเพื่อนต่างระดับชั้นที่มีต่อความสามารถในการอ่านออกเสียงของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาที่มีปัญหาทางการอ่านในโรงเรียนขนาดเล็ก กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 ที่มีปัญหาทางการอ่าน ปีการศึกษา 2558 โรงเรียนบ้านสานฝัน (นามสมมติ) จังหวัดตรัง จำนวน 12 คน ใช้เวลาทดลองทั้งสิ้น 60 ครั้ง เป็นเวลา 12 สัปดาห์ วิธีการดำเนินการวิจัยมี 6 ขั้นตอน คือ 1) ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2) กำหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 3) จัดทำแผนกิจกรรมที่ใช้ในการวิจัย 4) สร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 5) ดำเนินการวิจัย (สอนอ่านออกเสียงโดยใช้เทคนิคการสอนโดยเพื่อนต่างระดับชั้นด้วยวิธีอ่านซ้ำ) 6) วิเคราะห์ สรุปผลและนำเสนอข้อมูล เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ 1) แบบประเมินผลความสามารถและทักษะอ่านออก อ่านคล่อง ของสำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา 2) แบบฝึกอ่านออกเสียงโดยใช้เทคนิคการสอนโดยเพื่อนต่างระดับชั้น 3) แบบทดสอบความสามารถในการอ่านออกเสียง วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนความสามารถในการอ่านออกเสียงหลังการใช้เทคนิคการสอนโดยเพื่อนต่างระดับชั้นมีค่าสูงกว่าก่อนการใช้เทคนิคการสอนโดยเพื่อนต่างระดับชั้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study effects of cross-age peer tutoring to reading-aloud ability of elementary school students with readings struggling in small-size school. Samples of this research were 12 students with struggling reading, in academic year 2015 of Bansanfhan School (alias), Trang Province. The research was conducted for 60 times in 12 weeks. The stages of this research were 1) studying the fundamental information and reviewing literature, 2) selecting students with readings struggling, 3) designing activity plans, 4) designing and developing research instruments, 5) practicing reading-aloud by cross-age tutoring technic (repeated reading) , and 6) analysing and summarizing research results. This research was analyzed by using mean, standard deviation and t-test dependent. The result was found that the post-test mean scores of reading-aloud ability by cross-age peer tutoring technic was higher than the pre-test mean scores at the .05 level of significance.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2015.1209-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการอ่าน
dc.subjectการอ่านขั้นประถมศึกษา
dc.subjectการสอน
dc.subjectReading
dc.subjectReading (Elementary)
dc.subjectTeaching
dc.titleผลของการใช้เทคนิคการสอนโดยเพื่อนต่างระดับชั้นที่มีต่อความสามารถในการอ่านออกเสียงของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาที่มีปัญหาทางการอ่านในโรงเรียนขนาดเล็กen_US
dc.title.alternativeThe effects of cross-age peer tutoring to reading-aloud ability of elementary school students with readings struggling in small-size schoolen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineประถมศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorChattrawan.L@chula.ac.th,mchattrawan@yahoo.comen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2015.1209-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5683371427.pdf8.06 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.