Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5135
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิวัฒน์ ตัณฑะพานิชกุล-
dc.contributor.authorลดาวัลย์ สุวรรณรังษี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2007-12-26T03:34:48Z-
dc.date.available2007-12-26T03:34:48Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9741735308-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5135-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อพัฒนาเครื่องต้นแบบแบบง่ายและประหยัดสำหรับผลิตโครงสร้างรังผึ้งโครงสร้างรังผึ้งผลิตจากวัสดุประเภทโนเม็กซ์ ซึ่งต้องการออกแบบให้มีขนาดเซลล์ 9.9 มิลลิเมตร และมีความหนาแน่นอยู่ระหว่าง 25-50 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร โดยใช้วิธีการผลิตแบบเชื่อมติดด้วยกาวและกระบวนการผลิตแบบดึงขยาย กาวที่ใช้คืออีพอกซีเรซิน จากนั้นทำการศึกษาสมบัติของอีพอกซีเรซินที่ใช้ อุณหภูมิและเวลาที่ใช้ในขั้นตอนการบ่ม พบว่าสภาวะการบ่มที่เหมาะสมคือ บ่มที่อุณหภูมิ 160 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 3 ชั่วโมง ภายหลังจากโครงสร้างรังผึ้งถูกดึงขยายและบ่มแล้วโครงสร้างรังผึ้งยังไม่มีความเสถียร ดั้งนั้นจึงต้องใช้ฟินอลิกเรซินสำหรับจุ่มเคลือบโครงสร้างรังผึ้งเพื่อเพิ่มความเสถียรและยังเพิ่มความแข็งแรงให้แก่โครงสร้างรังผึ้งด้วย จากนั้นทำการศึกษาสภาวะในการบ่มของฟีนอลิกเรซินที่เหมาะสม พบว่าฟีนอลิก เรซินที่ความเข้มข้น 20.23% โดยน้ำหนัก เมื่อจุมเคลือบแล้วระเหยตัวทำละลายตามธรรมชาติที่อุณหภูมิห้องเป็นเวลา 24 ชั่วโมงและบ่มที่อุณหภูมิ 140 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 30 นาที ให้ผลการจุ่มเคลือบโครงสร้างรังผึ้งที่ดี จากการทดสอบสมบัติทางกลของโครงสร้างรังผึ้งที่ผลิตได้ โดยโครงสร้างรังผึ้งความหนาแน่นประมาณ 45 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ปรากฎว่าโครงสร้างรังผึ้งมีความทนแรงอัด 1 เมกะปาสคาล และความทนแรงเฉือนในด้านยาวและด้านกว้างมีค่า 0.7 และ 0.44 เมกะปาสคาล ตามลำดับen
dc.description.abstractalternativeThe aim of this study was to develop simple device for producing honeycomb structures. Nomex (Registered sign) honeycomb structures with cell size of 9.9 mm and final density of 25-50 kg/m[superscript 3] were produced by adhesive bonding and subsequent expansion process. Epoxy resin was used to bond nodes of the honeycomb structure. Suitable curing conditions of the epoxy resin were investigated. The completion of curing reaction took 3 hours at 160 ํC After the honeycomb structures were expanded and cured, they were not yet fully stable. To enhance their structural strength and stability, a suitable liquid phenolic resin was used to dip-coat the honeycomb structures and the suitable curing conditions of the phenolic resin were investigated. It was found that 20.23% wt phenolic resin yielded good dip-coated honeycomb structures after 24 hours natural evaporation at room temperature and the suitable curing condition was at 140 ํC for 30 min. Finally, the mechanical properties of honeycomb structures were tested. For honeycomb density of 45 kg/m[superscript 3] , its compressive strength was 1 MPa, whereas the shear strengths were 0.7 and 0.44 MPa in the L and W directions, respectivelyen
dc.format.extent3356799 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2005.1278-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectวัสดุเชิงประกอบen
dc.titleการพัฒนาเครื่องต้นแบบเพื่อการผลิตวัสดุแกนรูปรังผึ้งเพื่อใช้เป็นโครงสร้างen
dc.title.alternativePrototype development for producing honeycomb core material for structural useen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเคมีes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2005.1278-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ladawan.pdf3.28 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.