Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51360
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศริญญา ภูวนันท์en_US
dc.contributor.advisorเอกราช อริยชัยen_US
dc.contributor.advisorวรวรรณ ศิริชนะen_US
dc.contributor.authorอาภา ศรีนุติโสภาคย์en_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2016-12-02T06:05:20Z-
dc.date.available2016-12-02T06:05:20Z-
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51360-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558en_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาสมรรถภาพการออกแรงจากการออกกำลังกายกล้ามเนื้อหายใจเข้าในผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลวเรื้อรังเป็น ระยะเวลา 6 สัปดาห์ เปรียบเทียบกับผู้ป่วยกลุ่ม ควบคุมซึ่งออกกำลังกายกล้ามเนื้อหายใจเข้าหลอก วิธีการวิจัย: การวิจัยเชิงทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุมในผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรังที่มีระดับความเหนื่อยระดับปานกลาง (New York Heart Association class II-III) ที่เข้ามารับการรักษาที่คลินิกโรค หัวใจล้มเหลวเรื้อรังโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ตั้งแต่เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2558 ถึง ธันวาคม พ.ศ. 2558 จำนวนทั้งหมด 40 ราย อายุ 19 – 83ปี เพศชาย 83เปอร์เซ็นต์ โดยถูกสุ่มแบ่งเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มที่หนึ่งได้ รับการ อกกำลังกายกล้ามเนื้อหายใจเข้าด้วยค่า 40 เปอร์เซ็นต์ของ Maximal inspiratory pressure (MIP) และกลุ่มที่สองได้รับการออก กำลังกายกล้ามเนื้อหายใจเข้าด้วยค่า 15 เปอร์เซ็นต์ของ MIP โดยผู้ป่วยทั้งสองกลุ่มได้รับการออกกำลังกายกล้ามเนื้อหายใจเข้าด้วย อุปกรณ์ช่วยออกกำลังกล้ามเนื้อหายใจเข้าที่บ้านทุกวัน เป็นเวลา 6 สัปดาห์ โดยประเมิน สมรรถภาพในการออกแรงด้วยการวัดคะแนนความ เหนื่อย, ความสามารถในการเดิน 6 นาที, สมรรถภาพของหัวใจ ปอดด้วย cardiopulmonary exercise test และ pulmonary function test รวมทั้งการประเมิน ทางด้านคุณภาพชีวิต ทั้งก่อนและหลังเข้าร่วมการศึกษา ผลการศึกษา: จากผู้เข้าร่วมวิจัย 40 คน สิ้นสุดการวิจัยแล้วจำนวน 20 คน คิดเป็นกลุ่มที่ออกกำลังกายกล้าม เนื้อหายใจเข้าด้วยค่า 40 เปอร์เซ็นต์ของ Maximal inspiratory pressure (MIP) 10 คน และกลุ่มที่ออกกำลังกายกล้ามเนื้อหายใจเข้าด้วยค่า 15 เปอร์เซ็นต์ ของ Maximal inspiratory pressure (MIP) 10 คน ผลการศึกษาเบื้องต้นพบว่ากลุ่มทดลองมีคะแนนความเหนื่อยลดลง 0.58 คะแนนเมื่อ เทียบกับกลุ่มควบคุมมีคะแนนความเหนื่อยลดลง 0.06 คะแนน (P= 0.002) กลุ่มทดลองวัดค่า peak oxygen consumption มีค่าเพิ่มขึ้น 1.81 ml/kg/min เมื่อเทียบกับกลุ่ม ควบคุม วัดค่า peak oxygen consumption มีค่าลดลง 0.2 ml/kg/min (P= 0.049) ส่วนคุณภาพชีวิต ในกลุ่มทดลองดีขึ้นเมื่อเทียบกับกลุ่มทดลองในแนวโน้มในทางที่ดีขึ้น สรุป: (1) การออกกำลังกล้ามเนื้อหายใจเข้าในคนไข้ล้มเหลวเรื้อรังช่วยลดอาการเหนื่อย เพิ่ม peak oxygen consumption โดย สัมพันธ์กับความแข็งแรงของกล้ามเนื้อหายใจเข้าที่เพิ่มขึ้น รวมทั้งการมีแนวโน้มที่จะดีขึ้นของคุณภาพชีวิต (2) การออกกำลังกายกล้ามเนื้อ หายใจเข้า สามารถทำได้จริงในคนไข้หัวใจล้มเหลวเรื้อรังที่มีระดับความเหนื่อยระดับปานกลาง (New York Heart Association class II-III) (3) ข้อมูลดังกล่าวควรจะได้รับการพิจารณาเข้าร่วมกับการรักษา หลักของคนไข้โรคหัวใจล้มเหลวเรื้อรังen_US
dc.description.abstractalternativeObjective: To study the effect of moderate-intensity inspiratory muscle training (IMT) program on functional capacity, pulmonary function, inspiratory muscle strength, and the quality of life (QOL) in patients with chronic heart failure with reduced ejection fraction (HFrEF). Methods: We conducted a prospective randomized controlled, double-blinded study. Fourty patients with HFrEF (53±12 years, 83% male, LVEF of 26±8 %, NYHA II-III) were randomly 1:1 assigned to a 6-week daily program of IMT using the Threshold® IMT device at 40% of maximal inspiratory pressure (MIP) (IMT group, n=20) or to a placebo-IMT using loading at 15% of MIP (SHAM group, n=20). Dyspnea score, 6-minute walk test, maximal oxygen consumption, pulmonary function, inspiratory muscle strength (determined by MIP), and the QOL were assessed before and after the IMT. Results: A 6-week daily program of IMT significantly improved MIP, dyspnea and peak oxygen consumption. There was also a trend towards improvement in QOL score in the IMT group. Respiratory muscle strength (MIP 87.11 + 16.24 to 102.84 + 21.05 cmH2O, p 0.001), dyspnea (2.26 + 0.45 to 1.68 + 0.48, p 0.001) and peak oxygen consumption (17.4 + 5.04 to 19.22 + 4.56 ml/kg/min) were significant improved in IMT group and statistically significant improved compared with SHAM group. Conclusion: (1) Moderate-intensity inspiratory muscle training program in patients with HFrEF results in significant improvement in dyspnea, inspiratory muscle strength, and peak oxygen consumption as well as trend towards improvement in QOL. (2) Moderate-intensity IMT using threshold loading at 40 % of MIP was practically feasible to apply in NYHA II-III heart failure patients. (3) These findings suggest that IMT should be considered as a complimentary therapy in those patients with heart failure.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2015.714-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectหัวใจ -- โรค -- ผู้ป่วย-
dc.subjectการรักษาด้วยการออกกำลังกาย-
dc.subjectHeart -- Diseases -- Patients-
dc.subjectExercise therapy-
dc.titleการศึกษาแบบสุ่มและควบคุมของการฝึกการออกกำลังกายกล้ามเนื้อหายใจเข้าต่อสมรรถภาพในการออกแรงโดยการวัดคะแนนหอบเหนื่อยในผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลวเรื้อรังen_US
dc.title.alternativeEffect of inspiratory muscle training on functional capacity measured by dyspnea score in patients with chronic heart failure with reduced ejection fraction : a randomized controlled trialen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineอายุรศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSarinya.P@chula.ac.th,spuwanant@gmail.comen_US
dc.email.advisoraekarach.a@gmail.comen_US
dc.email.advisoroooo846@gmail.comen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2015.714-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5774117030.pdf2.86 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.