Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51464
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศักดา ธนิตกุล-
dc.contributor.authorนันทินี สุนทรพิมล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์-
dc.date.accessioned2016-12-29T10:04:41Z-
dc.date.available2016-12-29T10:04:41Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51464-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์เล่มนี้มีวัตถุประสงค์หลัก เพื่อศึกษาการปรับใช้หลัก Essential Facility Doctrine หรือหลักสิ่งอำนวยความสะดวกที่จำเป็น และหลักเกณฑ์ของกฎหมายของประเทศสหรัฐอเมริกา และสหภาพยุโรปที่เกี่ยวข้องกับการเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมเพื่อเปรียบเทียบ และวิเคราะห์กับกรณีการปรับใช้หลักสิ่งอำนวยความสะดวกที่จำเป็นดังกล่าวในบริบทของการเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมในประเทศไทย ผลของการวิจัยผู้วิจัยพบการกำกับดูแลเกี่ยวกับการเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมของประเทศไทยแตกต่างจากหลักการเรื่องสิ่งอำนวยความสะดวกที่จำเป็นของประเทศสหรัฐอเมริกา และสหภาพยุโรป และแตกต่างจากการกำกับดูแลเรื่องการเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมของประเทศสหรัฐอเมริกา และสหภาพยุโรปด้วย โดยหลักสิ่งอำนวยความสะดวกที่จำเป็น และการกำกับดูแลการใช้ และเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมของประเทศสหรัฐอเมริกา และสหภาพยุโรปมีลักษณะร่วมกันคือมีการกำหนดหน้าที่ให้แก่ผู้ประกอบการที่มีอำนาจเหนือตลาดมากกว่าผู้ประกอบการทั่วไป อันเป็นลักษณะของการกำกับดูแลแบบ Asymmetric Regulation ในขณะที่การกำกับดูแลเกี่ยวกับการใช้ และเชื่อมต่อโครงข่ายโทรคมนาคมเป็นหน้าที่ของผู้ประกอบการทุกรายทั้งนี้เป็นผลมาจากพัฒนาการและสภาพแวดล้อมของการประกอบการที่ต่างกันและการกำกับดูแลแบบไม่เท่าเทียมกันไม่เหมาะสมกับสภาพการประกอบกิจการโทรคมนาคมของไทยในปัจจุบันen_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this thesis is to conduct a comparative study on the Essential Facility Doctrine and the regulation regarding Interconnection under the law of the United States of America (USA) and the law of the European Union (EU) in comparison with the Interconnection regulation under Thai law. Briefly the researcher has realized that the Interconnection regulations under Thai law differ from the Essential Facility Doctrine and the Interconnection regulations of USA and EU. Under the Interconnection regulations of USA and EU, the researcher found that the regulations impose asymmetric obligations to the operators. On the contrary, Thai Interconnection regulations do not impose asymmetric obligation to the operators. From the study, the asymmetric regulation is not suitable for the present situation in the telecommunication market in Thailand.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.1651-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectโทรคมนาคม -- ไทยen_US
dc.subjectโทรคมนาคม -- ความร่วมมือระหว่างประเทศ -- สหภาพยุโรปen_US
dc.subjectโทรคมนาคม -- ความร่วมมือระหว่างประเทศ -- สหรัฐอเมริกาen_US
dc.subjectระบบโทรคมนาคมen_US
dc.subjectTelecommunication -- Thailanden_US
dc.subjectTelecommunication -- International cooperation -- European Unionen_US
dc.subjectTelecommunication -- International cooperation -- United Statesen_US
dc.subjectTelecommunication systemsen_US
dc.titleการปรับใช้หลักสิ่งอำนวยความสะดวกที่จำเป็นกับการเชื่อมต่อโครงข่ายในกิจการโทรคมนาคมของไทยen_US
dc.title.alternativeApplication of essential facility doctrine and interconnection regulation in telecommunication business in thailanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSakda.T@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.1651-
Appears in Collections:Law - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
nantinee_su.pdf1.36 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.