Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51737
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชัยชน โลว์เจริญกุล-
dc.contributor.advisorธีรเดช ศรีกิจวิไลกุล-
dc.contributor.authorจักริน ลบล้ำเลิศ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2017-02-10T03:29:41Z-
dc.date.available2017-02-10T03:29:41Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51737-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาตำแหน่งสมองส่วนที่ทำหน้าที่ควบคุมในเรื่องภาษาในผุ้ป่วยโรคลมชักไทย โดยใช้เป็นข้อมูลป้องกันการสูญเสียหลังผ่าตัดสมองและศึกษาหาปัจจัยที่มีผลต่อสมองส่วนที่ทำหน้าที่ควบคุมในเรื่องภาษาที่พบตามตำแหน่งที่พบปกติกับตำแหน่งที่เปลี่ยนไปจากปกติ วิธีวิจัย: ผู้ป่วยไทยที่เป็นโรคลมชักซึ่งดื้อยากันชักที่มาประเมินก่อนการผ่าตัด และได้รับการตรวจด้วยวิธีการกระตุ้นไฟฟ้าผ่านขั้วไฟฟ้าบนผิวสมองในสมองข้างที่เด่นภาษา จะได้รับการตรวจทางภาษา ซึ่งมีขั้นตอนอย่างเป็นระบบในระหว่างการกระตุ้นไฟฟ้า ข้อมูลที่ได้รับจะถูกวิเคราะห์เกี่ยวกับตำแหน่งสมองส่วนที่ควบคุมภาษา ปัจจัยที่มีผลต่อสมองส่วนที่ทำหน้าที่ควบคุมในเรื่องภาษาที่พบ ตามตำแหน่งที่พบปกติกับตำแหน่งที่เปลี่ยนไปจากปกติรวมทั้งผลจากการป้องกันการสูญเสียทางภาษาหลังการผ่าตัดโรคลมชัก ผลการวิจัย: มีผู้ป่วยไทยที่เป็นโรคลมชัก ซึ่งดื้อยากันชักที่มาประเมินก่อนการผ่าตัดในโครงการรักษาผู้ป่วยโรคลมชัก รพ.จุฬาลงกรณ์ที่เข้าเกณฑ์การศึกษาจำนวน 9 คน แบ่งเป็นเพศชาย 9 คน แบ่งเพศชาย 5 คน เพศหญิง 4 คน โดยถนัดมือขวาทั้งหมดผลจากการกระตุ้นไฟฟ้าพบตำแหน่งสมองส่วนที่ควบคุมภาษาเรื่องการพูด ความเข้าใจทางภาษา การนึกชื่อสิ่งของและการนึกคำพูด โดยพบทั้งตำแหน่งที่พบปกติและตำแหน่งที่เปลี่ยนไปจากปกติ ไม่มีผู้ป่วยรายใดพบตำแหน่งสมองส่วนที่คบคุมภาษาทุกชนิดในคนๆ เดียวและผู้ป่วยบางรายพบตำแหน่งสมองส่วนที่ควบคุมภาษาแต่ละชนิดได้มากกว่าหนึ่งตำแหน่ง ส่วนผลการป้องกันการสูญเสียทางภาษาหลังการผ่าตัดโรคลมชัก พบว่ามีผุ้ป่วย 2 ราย มีอาการสูญเสียทางภาษาเล็กน้อยถึงปานกลาง หลังการผ่าตัด ซึ่งสามารถฟื้นฟูได้เกือบปกติในเวลาต่อมา ทั้ง 2 ราย มีปัจจัยเสี่ยงคือ ตำแหน่งที่ผ่าตัดอยู่บริเวณที่ตรงกับตำแหน่งสมองส่วนที่ควบคุมภาษาตามกายวิภาคและผู้ป่วยจบการศึกษาสูง มีความรู้ความสามารถในการใช้ภาษาอย่างดีมาก่อน สรุป: บริเวณที่ควบคุมภาษาต่างๆ ผู้ป่วยไทยที่เป็นโรคลมชัก จะมีความแตกต่างกันไปในแต่ละบุคคล โดยมักพบตำแหน่งสมองส่วนที่ควบคุมภาษาที่ไม่ตรงกับตำแหน่งตามกายวิภาค ซึ่งอยู่กับปัจจัยต่างๆ เช่น อายุที่เริ่มมีอาการชักครั้งแรก ตำแหน่งของพยาธิสภาพ ดังนั้นการผ่าตัดโรคลมชัก โดยเพฉาะอย่างยิ่งในสมองซีกเด่นในเรื่องภาษาคงต้องใช้ข้อมูลจากการกระตุ้นไฟฟ้าผ่านขั้วบนผิวสมองระหว่างประเมินก่อนการผ่าตัดซึ่งเป็นวิธีมาตราฐานโดยสามารถบอกตำแหน่งที่ควบคุมในเรื่องภาษาได้อย่างละเอียดเพื่อหลีกเลี่ยงการผ่าตัดบริเวณสมองส่วนที่ควบคุมภาษาในระหว่างการผ่าตัดเอาจุดกำเนิดออกไปen_US
dc.description.abstractalternativeObjective: To locate the speech areas in Thai epileptic patients with medically intractable focal epilepsy who underwent invasive monitoring and cortical stimulation. This data can be used to protect the speech areas during surgery. Methods: Thai epileptic patients with medically intractable focal epilepsy who underwent invasive monitoring and cortical stimulation on the dominant hemisphere for language were studied. The data of speech areas from cortical stimulation using Thai language testing protocol were analyzed. Typical and atypical speech areas in all patients will be analyzed for to determine the risk factors for the occurrence of atypical speech pattern. Results: All data received from nine epileptic patients who underwent invasive monitoring with cortical stimulation mapping were analyzed. There were five male and four female epileptic patients. All patients were right handed. There were four type of speech area consisting of motor speech, sensory speech, naming and word recognition area. The motor speech area was found in typical location (Lt inferior frontal area) in 2 out of 6(33.3%) patients and atypical location(Lt superior temporal area 2 patients, Rt superior temporal area 1 patient and Lt mesial frontal area 1 patient) in 4 out of 6(66.7%) patients. The sensory speech area identified in only one patient was atypically found at dorsolateral part of Lt precentral area. The naming area was found in typical location (Lt posterior fusiform 1 patient, Lt temporooccipital area 1 patient, Lt middle temporal area 1 patient, Lt lateral posterior temporal 1 patient) in 4 out of 5 (80%) patients and atypical location (Lt lateral occipital area) in 1 out of 5 (20%) patients. The word recognition area was found in typical location (Lt temporoparietal area) in 2 out of 3 (66%.7) patients and atypical location (Lt inferior frontal area) in 1 out of3 (33.3%) patients Conclusion: Speech areas in Thai epileptic patients from this study showed variable locations that did not correspond to the reponsible speech areas from anatomical landmark in some patients. Cortical stimulation mapping is an important tool for identifying of the functioning areas particularly speech areas. This important data from cortical stimulation was used for the decision of the most appropriate resective site of seizure onset zone with preservation of area with appreciable function.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.863-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectลมบ้าหมูen_US
dc.subjectการบันทึกคลื่นไฟฟ้าสมองen_US
dc.subjectEpilepsyen_US
dc.subjectElectroencephalographyen_US
dc.titleการศึกษาตำแหน่งสมองส่วนที่ทำหน้าที่ควบคุมภาษาในผู้ป่วยโรคลมชักไทยโดยการกระตุ้นไฟฟ้าผ่านขั้วไฟฟ้าบนผิวสมองระหว่างประเมินก่อนการผ่าตัดen_US
dc.title.alternativeSpeech areas in Thai epileptic patients by cortical stimulation mapping with subdural grid electrodesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineอายุรศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.email.advisorteeradej@thaiepilepsy.com-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.863-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
jakrin_lo_front.pdf1.49 MBAdobe PDFView/Open
jakrin_lo_ch1.pdf777.24 kBAdobe PDFView/Open
jakrin_lo_ch2.pdf4.68 MBAdobe PDFView/Open
jakrin_lo_ch3.pdf656.51 kBAdobe PDFView/Open
jakrin_lo_ch4.pdf1.48 MBAdobe PDFView/Open
jakrin_lo_ch5.pdf1.35 MBAdobe PDFView/Open
jakrin_lo_ch6.pdf245.84 kBAdobe PDFView/Open
jakrin_lo_back.pdf4.7 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.