Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51764
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุภวัฒน์ วิวรรธ์ภัทรกิจ-
dc.contributor.authorน้ำเพชร พันธุ์พิพัฒน์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2017-02-11T13:21:31Z-
dc.date.available2017-02-11T13:21:31Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51764-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม. )--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en_US
dc.description.abstractจากวิกฤตการณ์ด้านพลังงานทั่วโลก ส่งผลให้ประเทศไทยส่งเสริมให้มีการใช้พลังงานหมุนเวียนมากขึ้นจากข้อมูลการศึกษาของ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน ประเมินศักยภาพของชีวมวลเหลือทิ้งที่มีมากกว่า 24 ล้านตันต่อปี จาก ข้าว อ้อย มันสำปะหลัง และปาล์มน้ำมัน โดยเศษวัสดุเหลือใช้เหล่านี้สามารถนำมาผลิตแก๊สชีวภาพเพื่อผลิตไฟฟ้าได้ จากการประเมินศักยภาพแก๊สชีวภาพ จาก ฟางข้าว ต้นและเหง้ามันสำปะหลัง และหญ้าเนเปียร์ เพื่อผลิตไฟฟ้าขนาด 1 เมกะวัตต์ สำหรับชุมชน โดยต้นทุนวัตถุดิบสำหรับการผลิตแก๊สชีวภาพ จาก ฟางข้าว ต้นและเหง้ามันสำปะหลัง และหญ้าเนเปียร์ยักษ์ โดยมีการจัดการเชิงปริมาณของวัตถุดิบต้นทุนวัตถุดิบจะอยู่ระหว่าง 1.38-4.44 บาทต่อกิโลวัตต์ โดยต้นทุนวัตถุดิบการผลิตแก๊สชีวภาพเพื่อผลิตไฟฟ้าจากฟางข้าวมีราคาสูงสุด โดยการเพาะปลูกข้าวสามารถปลูกได้ 1-2 ครั้งต่อปี ดังนั้นจำเป็นต้องเก็บฟางข้าวหรือเศษวัสดุเหลือใช้อื่นๆ ทดแทนเสริมในช่วงที่ไม่มีวัตถุดิบ ซึ่งเศษวัสดุเหลือใช้จากการเพาะปลูกมันสำปะหลังก็มีลักษณะเช่นเดียวกับฟางข้าว ส่วนหญ้าเนเปียร์ยักษ์มีศักยภาพในการผลิตเป็นวัตถุดิบเพื่อผลิตแก๊สชีวภาพสำหรับโรงไฟฟ้าได้เพราะสามารถเก็บเกี่ยวได้เกือบตลอดทั้งปีและมีต้นทุนวัตถุดิบต่ำสุด ซึ่งเมื่อนำวัตถุดิบทั้ง 3 ชนิดมาศึกษาพิจารณาบริหารการจัดการวัตถุดิบ จะใช้พื้นที่เพาะปลูกข้าว มันสำปะหลัง และหญ้าเนเปียร์ยักษ์สำหรับการผลิตไฟฟ้าต้องใช้พื้นที่ 21,417 71,993 และ 940 ไร่ ตามลำดับ สำหรับวัตถุดิบที่จะสามารถผลิตกระแสไฟฟ้า 1 MW ภายในระยะเวลา 1 ปี จากการวิเคราะห์เศรษฐศาสตร์การใช้หญ้าเนเปียร์ยักษ์เป็นเชื้อเพลิงหลักและผสมฟางข้าว เหง้าและต้นมันสำปะหลัง อัตราการตอบแทนภายในและระยะเวลาคืนทุน(FIRR %/PP ปี) 2.73/12.12, 0.71/14.2 และ 1.05/13.8 ตามลำดับ ที่ Adder 0.5 บาท ที่ราคาต้นทุนวัตถุดิบถูกกว่าราคาขายไฟฟ้า และกรณีต้นทุนวัตถุดิบสูงกว่าราคาขายไฟฟ้า ราคารับซื้อไฟฟ้าจะอยู่ในช่วง 5-7.4 บาท/kWh ที่ FIRR มีค่า 3.45-12.28 % และ ระยะเวลาคืนทุน 6.7-12.6 ปี กรณีไม่มีการสนับสนุนเงินเริ่มต้นen_US
dc.description.abstractalternativeThe energy crisis in Thailand, renewable energy was promoted increasingly. Development of Alternative Energy Department and Efficiency (2005) estimate the potential of the waste from biomass which was more than 24 million tons. The waste from rice, sugar cane, cassava and palm oil can be produced biogas. The potential of rice straw, cassava stem and king nepia for 1 MW. electric production was 1.38-4.44 Baht/kW. The capital cost of biomass production from rice straw had the highest because the rice was cultivated in season which was 1-2 time/year. The waste from cassava was the same reason. Thus storage or other materials were necessary support. King nepia was used instead in the lack of rice straw and cassava stem because it was harvested all year and it had the lowest cost. The cultivation management of rice straw, cassava stem and king nepia for electric production will use 21,417 71,993 and 940 Rai, respectively. For 1 MW electric production in 1 year, the economics analysis showed king napia was the major biomass mixed with rice straw and cassava stem caused the repay rate and pay back period (FIRR %/PP year) were 2.73/12.12, 0.71/14.2 and 1.05/13.8, respectively, at Adder 0.5 Baht. The raw materials cost was lower than electric sale price. If the raw materials cost was higher than electric sale price, electric purchase price was 5-7.4 Baht/kWh at FIRR 3.45-12.28% and pay back period 6.7-12.6 year without budget support.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.2110-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectก๊าซชีวภาพen_US
dc.subjectการผลิตพลังงานไฟฟ้าen_US
dc.subjectเชื้อเพลิงจากของเสียทางการเกษตรen_US
dc.subjectBiogasen_US
dc.subjectElectric power productionen_US
dc.subjectAgricultural wastes as fuelen_US
dc.titleศึกษาศักยภาพการผลิตไฟฟ้าด้วยไบโอแก๊สที่ผลิตจากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรen_US
dc.title.alternativePotentials study of electricity generation with biogas from agricultural wastesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีชีวภาพen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorsupawat@eri.chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.2110-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
nampetch_pa.pdf3.78 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.