Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51812
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นคร ไพศาลกิตติสกุล | - |
dc.contributor.author | นราภรณ์ ตั้งหทัยทิพย์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2017-02-14T07:48:23Z | - |
dc.date.available | 2017-02-14T07:48:23Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51812 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556 | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้ได้ทำการคำนวณหาค่าสัมประสิทธิ์ไพอิโซอิเล็กทริกสำหรับชั้นเดี่ยวของโบรอน ไนไตรด์(BN) และโลหะแทรนซิชันไดชาล์โคจีไนด์(TMDC) ได้แก่โมลิบดีนัมไดซัลไฟด์ (MoS₂), โมลิบดีนัมไดซิลิไนด์(MoSe₂), โมลิบดีนัมไดเทลลูไรด์(MoT e₂), ทังสเตนไดซัลไฟด์ (WS₂), ทังสเตนไดซิลิไนด์(WSe₂) และ ทังสเตนไดเทลลูไรด์(WTe₂) โดยใช้โปรแกรม CASTEP ซึ่งอาศัยทฤษฎีฟังก์ชันนัลความหนาแน่น (DFT) และใช้การประมาณค่าเกรเดียนต์โดยนัยทั่วไป (GGA) เพื่อเป็นการตรวจสอบผลการศึกษาก่อนหน้านี้ที่ว่า วัสดุสองมิติดังกล่าวจะมีสัมประสิทธิ์ ไพอิโซอิเล็กทริกสูงกว่าวัสดุปกติที่เป็นสามมิติในเบื้องต้นคำนวณหาค่าคงที่แลตทิซเพื่อตรวจ สอบโครงสร้างของวัสดุเทียบกับการศึกษาก่อนหน้า และคำนวณช่องว่างแถบพลังงาน นอกจากนี้ ยังได้คำนวณค่าสัมประสิทธิ์ความยืดหยุ่นและการเปลี่ยนแปลงโพลาไรเซชันต่อหน่วยพื้นที่เพื่อนำ ไปคำนวณหาค่าสัมประสิทธิ์ไพอิโซอิเล็กทริก ผลการคำนวณพบว่า สัมประสิทธิ์ไพอิโซอิเล็กทริก ของวัสดุที่เป็นสองมิติบางชนิดข้างต้น มีค่าสูงกว่าวัสดุไพอิโซอิเล็กทริกปกติที่เป็นสามมิติเช่น ผลึกแอลฟาควอตซ์, ผลึกแกเลียมไนไตรด์(GaN) และผลึกอะลูมิเนียมไนไตรด์(AlN) เป็นต้น โดยที่ชั้นเดี่ยวของ MoT e₂ มีค่าสัมประสิทธิ์ไพอิโซอิเล็กทริกสูงสุด และชั้นเดี่ยวของ WS₂ มีค่า สัมประสิทธิ์ไพอิโซอิเล็กทริกต่ำสุด ซึ่งพบว่า ค่าสัมประสิทธิ์ไพอิโซอิเล็กทริกมีแนวโน้มเดียวกัน กับเลขอะตอมของธาตุชาล์โคจีไนด์ตามตารางธาตุนอกจากนี้ยังได้ทำการตรวจสอบความถูกต้อง ของวิธีการคำนวณหาโพลาไรเซชัน โดยคำนวณหาค่าโพลาไรเซชันสำหรับผลึกของแบเรียมไททา เนต (BaTiO₃) และเลด ไททาเนต (PbT iO₃) ผลการคำนวณพบว่า ค่าโพลาไรเซชันสอดคล้องกับ การทดลองและการคำนวณก่อนหน้านี้ | en_US |
dc.description.abstractalternative | In this research, the piezoelectric coefficients for monolayer of boron nitride (BN), molybdenum disulfide (MoS₂), molybdenum diselenide (MoSe₂), molybdenum ditelluride (MoT e₂), tungsten disulfide (WS₂), tungsten diselenide (WSe₂), and tungsten ditelluride (WTe₂) were determined. The CASTEP code based on density functional theory (DFT) within the generalized gradient approximation (GGA) is used in the calculation. In order to verify the piezoelectric properties of these materials, the lattice constants and the energy band gaps were calculated. Then, the piezoelectric coefficients were determined from the elastic stiffness constants and the polarization changes per unit area. Our results show that some of these 2D materials have stronger piezoelectric couplings than the 3D piezoelectric materials such as bulk alpha quartz, bulk gallium nitride (GaN) and bulk aluminium nitride (AlN). The monolayer of MoT e₂ has the largest piezoelectric coefficient while that of WS₂ was smallest. We found that the piezoelectric coefficients have the same trend as the atomic size of chalcogenide. Moreover, we have calculated the polarization of barium titanate (BaTiO₃) and lead titanate (PbT iO₃) in which there were both calculated and measured results for verifying our calculation. Our results agree well with the previous study. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2013.1688 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | พลังงานไฟฟ้า | en_US |
dc.subject | โพลาไรเซชัน | en_US |
dc.subject | Electric power | en_US |
dc.subject | Polarization | en_US |
dc.title | การคำนวณสัมประสิทธิ์ไพอิโซอิเล็กทริกสำหรับชั้นเดี่ยวของ โบรอนไนไตรด์และโลหะแทรนซิชันไดชาล์โคจีไนด์โดยใช้ ทฤษฎีฟังก์ชันนัลความหนาแน่น | en_US |
dc.title.alternative | Calculation of piezoelectric coefficients for monolayer of Boron nitride and transition metal dichalcogenides using Density functional theory | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | ฟิสิกส์ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Nakorn.P@Chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2013.1688 | - |
Appears in Collections: | Sci - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
naraporn_tu.pdf | 2.14 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.