Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51863
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชโยดม สรรพศรี-
dc.contributor.authorสุรีวรรณ สมสกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเศรษฐศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.date.accessioned2017-02-15T08:05:23Z-
dc.date.available2017-02-15T08:05:23Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51863-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en_US
dc.description.abstractศึกษาถึงนโยบายทางการค้าน้ำมันปาล์มภายใต้การรวมกลุ่มทางการค้าของภูมิภาค ที่เรียกว่าข้อตกลงของเขตการค้าเสรีอาเซียน (Asean Free Trade Area : AFTA) เพื่อทำการวิเคราะห์ถึงผลกระทบของการลดอัตราภาษีลงเหลือร้อยละศูนย์ในสินค้าประเภทน้ำมันปาล์ม ต่ออุตสาหกรรมน้ำมันปาล์มโดยตรง อุตสาหกรรมอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงตัวแปรทางเศรษฐกิจระดับมหภาคต่างๆ โดยใช้ฐานข้อมูลจากตารางปัจจัยการผลิตและผลผลิต (Input-output table) ของประเทศไทยในปี 2548 และใช้เครื่องมือ Global Trade Analysis Project (GTAP Model) ในการวิเคราะห์ ผลการศึกษาพบว่า สาขาการผลิตที่มีความสัมพันธ์ต่ออุตสาหกรรมน้ำมันปาล์มและเศรษฐกิจโดยรวม ในฐานะที่เป็นอุตสาหกรรมต้นน้ำในระบบเศรษฐกิจ ได้แก่ สาขาการผลิตน้ำมันปิโตรเลียมและก๊าซธรรมชาติ การผลิตเคมีภัณฑ์ขั้นมูลฐาน และการผลิตไฟฟ้า สำหรับสาขาการผลิตในฐานะปลายน้ำในภาคเกษตร ได้แก่ สาขาการผลิตเนื้อกระป๋อง และการผลิตน้ำนมและผลิตภัณฑ์จากนม ส่วนสาขาการผลิตในภาคอุตสาหกรรม ได้แก่ การผลิตเครื่องมือเครื่องจักรในสำนักงานและครัวเรือน การผลิตผลิตภัณฑ์โลหะ เมื่อไทยดำเนินการภายใต้นโยบายการค้าเสรีน้ำมันปาล์ม ส่งผลต่อตัวแปรทางด้านต้นทุนการผลิตที่เปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น ทำให้ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์มได้รับผลกระทบในทิศทางที่เป็นลบ ตัวแปรในภาคการค้าระหว่างประเทศเปลี่ยนแปลงลดลงอย่างเห็นได้ชัด จากการที่ดุลการค้าโดยรวมขาดดุลเพิ่มขึ้นเนื่องจากมูลค่านำเข้าเพิ่มขึ้นมากกว่ามูลค่าส่งออกที่เพิ่มขึ้น ส่วนดุลการค้าในภาคการผลิตน้ำมันปาล์มก็ขาดดุลมากขึ้นเช่นเดียวกัน เนื่องจากมูลค่านำเข้าเพิ่มขึ้นในขณะที่มูลค่าส่งออกลดลง สำหรับข้อเสนอแนะที่ได้จากการศึกษาคือ ในระยะสั้นรัฐบาลควรคงนโยบายควบคุมการนำเข้าไว้ควบคู่กับการค้าเสรีในสินค้าน้ำมันปาล์ม และในระยะยาวรัฐบาลควรกำหนดนโยบายการอุดหนุนผลผลิต โดยที่รัฐเป็นตัวกลางในการรับซื้อและจำหน่ายน้ำมันปาล์มดิบด้วยตนเอง และกำหนดเพดานราคาขายน้ำมันปาล์มบริสุทธิ์ให้ต่ำลงเพื่อช่วยเหลือผู้ผลิตในระดับปลายน้ำen_US
dc.description.abstractalternativeTo determine the policy of palm oil trade under the ASEAN Free Trade Area or AFTA. To analyze the impacts of tariff elimination in the palm oil product which affects directly on palm oil industry, other palm oil related industries and other macroeconomics variables. This study uses the database from Input-Output Table of Thailand in 2005 and the Global Trade Analysis Project (GTAP) for the analyses. The findings show the industries which involve in the palm oil industry and the whole economy as the upstream industry are Petrolium and natural gas product, fundamental chemical products and dairy products while the industrial sectors are the office machineries and equipments and metal products. While Thailand implemented the free trade policy on palm oil which has affects production cost factors to higher and cause negative effects on the palm oil producers. The trade balance deficit has occurred as a result. Trade balance in Palm oil sector has increasingly in deficit either. And the results of the study suggest that in the short run the government has to remain the import quota policy and in the long run should make the the intermediate market management policy in the way of being intermediary on purchasing and vending the Palm oil product and stipulating the reducing price floor policy on the purified Palm oil for downstream producer aid.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.2129-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการค้าเสรีen_US
dc.subjectการค้าระหว่างประเทศen_US
dc.subjectอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์ม -- ไทยen_US
dc.subjectFree tradeen_US
dc.subjectPalm oil industry -- Thailanden_US
dc.subjectInternational tradeen_US
dc.titleผลกระทบจากนโยบายการค้าเสรีน้ำมันปาล์มต่ออุตสาหกรรมน้ำมันปาล์มและเศรษฐกิจของประเทศไทย ภายใต้ข้อตกลงการค้าเสรีอาเซียนen_US
dc.title.alternativeImpact of free trade policy in AFTA to the palm oil industry and the economy of Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเศรษฐศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorchayodom.s@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.2129-
Appears in Collections:Econ - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
sureewan_so.pdf2.51 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.