Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51940
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Varawut Tangpasuthadol | - |
dc.contributor.advisor | Suda Kiatkamjornwong | - |
dc.contributor.author | Sarannut Wattanasamai | - |
dc.contributor.other | Chulalongkorn University.Faculty of Science | - |
dc.date.accessioned | 2017-02-17T06:41:44Z | - |
dc.date.available | 2017-02-17T06:41:44Z | - |
dc.date.issued | 2008 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51940 | - |
dc.description | Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2008 | en_US |
dc.description.abstract | การปรับรุงการยึดติดและความเข้ากันได้ระหว่างยางธรรมชาติ (NR) ที่กราฟต์ด้วยเมทิล เมทาคริเลต (MMA) กับซิลิกา กระทำขึ้นโดยใช้แกมมาเมทาคริลอกซีโพรพิลไทรเมทอกซีไซเลน (γ-MPS) เป็นสารควบคู่ไซเลน ขั้นแรกเป็นการกราฟต์น้ำยางธรรมชาติ (30%DRC) ด้วย MMA มอนอเมอร์ โดยใช้คิวมีนไฮโดรเพอร์ออกไซด์/เททระเอทิลีนเพนตามีนเป็นตัวริเริ่มปฏิกิริยาแบบ รีดอกซ์ อนุภาคยางที่กราฟต์แล้วมีลักษณะที่ส่วนของยางเป็นแกนกลาง และมีชั้นรอบนอกเป็นพอลิ เมทิลเมทาคริเลตดังผลวิเคราะห์จากกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องผ่าน (TEM) ขั้นต่อมาจึง ได้กราฟต์ NR-g-MMA ด้วย γ-MPS หลังจากนั้นจึงได้นำเททระเอทอกซีไซเลน (TEOS) มาผสม กับน้ำยางธรรมชาติที่กราฟต์ด้วย MMA และ γ-MPS เพื่อสร้างซิลิกาให้เกิดขึ้นภายในยางที่กราฟต์ ดังกล่าว อนุภาคลาเท็กซ์ของคอมพอสิตที่ได้มีลักษณะเป็นชั้นซิลิกาที่เกิดขึ้นหุ้มอนุภาคยางที่อยู่ เป็นแกนกลาง ขนาดของอนุภาคอินซิทูซิลิกาที่เกิดจาก γ-MPS-TEOS มีแนวโน้มที่จะขนาดเล็กกว่า ซิลิกาที่เกิดจาก TEOS เพียงชนิดเดียว เนื่องจาก γ-MPS สามารถป้องกันการรวมตัวกันของอนุภาค โดยหมู่เมทาคริโลอิลและเป็นไปได้ว่าสามารถสร้างพันธะเคมีเชื่อมยางกับซิลิกาได้ การเปลี่ยนรูป จาก γ-MPS-TEOS ไปเป็นอนุภาคซิลิกาในคอมพอสิตมีค่าอยู่ระหว่าง 60-90% อุณหภูมิ กลาสทรานซิชัน (Tg) ของ NR-g-MMA-γ-MPS และยางที่ผสมกับ TEOS มีค่าอยู่ระหว่าง -67.3 ถึง -68.5°ซ และยังพบหลักฐานที่เป็นไปได้ของการเกิดปฏิสัมพันธ์กันระหว่างอนุภาคอินซิทู ซิลิกากับโมเลกุลยางอันได้แก่ค่า Tg ที่สอง ณ ช่วง -10.2 ถึง -11.3°ซ | en_US |
dc.description.abstractalternative | The improvement in the adhesion and compatibility between natural rubber (NR) grafted with methyl methacrylate (MMA) and silica by the use of γ-methacryloxyproply trimethoxysilane (γ-MPS) as a silane coupling agent was reported. In the first step, the NR latex (30%DRC) was grafted with MMA monomer using cumene hydroperoxide/tetraethylene pentamine (CHPO/TEPA) redox system as an initiator. The latex core and PMMA shell feature was found by transmission electron microscopic (TEM) analysis. Graft copolymerization of NR-g-MMA with γ-MPS was then proceeded. The NR-g-MMA-γ-MPS latex was mixed with tetraethoxysilane (TEOS) in order to generate silica in the grafted rubber. The composite latex particles appeared to be a core-shell structure with silica formed in the shell layer. The particle size of in situ silica from γ-MPS-TEOS tended to be smaller than the silica from TEOS alone, because γ-MPS was able to prevent particle aggregation by the methacryloyl group, and possible to provide a chemical link between the NR and silica. The conversion of γ-MPS-TEOS to silica particles in the composite was between 60 to 90%. The Tg’s of NR-g-MMA-γ-MPS, and that mixed with TEOS were found to be between -67.3 to -68.5°C. A possible evidence for interaction between the in situ silica particles and the rubber molecules was found as second Tg’s at -10.2 to -11.3°C. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chulalongkorn University | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2008.1730 | - |
dc.rights | Chulalongkorn University | en_US |
dc.subject | Silica | en_US |
dc.subject | Rubber | en_US |
dc.subject | Methyl methacrylate | en_US |
dc.subject | ซิลิกา | en_US |
dc.subject | ยาง | en_US |
dc.subject | เมทิลเมทาคริเลต | en_US |
dc.subject | ยางธรรมชาติ | en_US |
dc.title | In situ silica formation in natural rubber grafted with methyl methacrylate and silane coupling agent | en_US |
dc.title.alternative | การสร้างซิลิกาแบบอินซิทูในยางธรรมชาติกราฟต์ด้วยเมทิลเมทาคริเลตและสารควบคู่ไซเลน | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | Master of Science | en_US |
dc.degree.level | Master's Degree | en_US |
dc.degree.discipline | Petrochemistry and Polymer Science | en_US |
dc.degree.grantor | Chulalongkorn University | en_US |
dc.email.advisor | Varawut.T@Chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | Suda.K@Chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2008.1730 | - |
Appears in Collections: | Sci - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
sarannut_wa_front.pdf | 2.01 MB | Adobe PDF | View/Open | |
sarannut_wa_ch1.pdf | 545.94 kB | Adobe PDF | View/Open | |
sarannut_wa_ch2.pdf | 3.31 MB | Adobe PDF | View/Open | |
sarannut_wa_ch3.pdf | 954.74 kB | Adobe PDF | View/Open | |
sarannut_wa_ch4.pdf | 3.73 MB | Adobe PDF | View/Open | |
sarannut_wa_ch5.pdf | 396.92 kB | Adobe PDF | View/Open | |
sarannut_wa_back.pdf | 1.07 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.