Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5197
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorยุบล เบ็ญจรงค์กิจ-
dc.contributor.advisorวรวัฒน์ จินตกานนท์-
dc.contributor.authorนภารวี สืบสุข-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัีย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-01-02T05:24:15Z-
dc.date.available2008-01-02T05:24:15Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9741705522-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5197-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en
dc.description.abstractการวิจัยนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาถึงวิธีการสร้างสารเพื่อสื่อความหมายของโฆษณาที่ปราศจากข้อความโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกกับนักสร้างสรรค์งานโฆษณาที่ใช้เป็นกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 12 ชิ้น ซึ่งเป็นชิ้นงานที่เข้ารอบการประกวดโฆษณายอดเยี่ยมแห่งประเทศไทย (TACT Awards) ในระหว่าง ปี พ.ศ. 2538-2543 และ 2) ศึกษาถึงประสิทธิผลของงานโฆษณาสิ่งพิมพ์ที่นำเสนอด้วยภาพโดยปราศจากข้อความ ด้วยการสนทนากลุ่มกับผู้ที่เป็นกลุ่มเป้าหมายชิ้นงานโฆษณา จำนวน 6 กลุ่ม รวมทั้งสิ้น 38 คน ถึงความเข้าใจในสารโฆษณา ผลการวิจัยพบว่า 1) แนวทางสร้างสรรค์งานส่วนใหญ่ของนักสร้างสรรค์ใช้วิธีเชื่อมโยงตัวแปรโดยการใช้สัญลักษณ์มากที่สุด รองลงมาคือการต่อเติมความหมายด้วยภาพ และการบังคับความสัมพันธ์ตามลำดับ โดยมีวิธีแสดงนัยความหมายโดยใช้สัญลักษณ์มากที่สุด รองลงคือการใช้วิธีอุปมาอุปไมย และตัวบ่งชี้ 2) ในส่วนของผู้รับสารโฆษณาส่วนใหญ่มีความเข้าใจในตัวสารโฆษณาที่นำเสนอด้วยภาพโดยปราศจากข้อความในทิศทางเดียวกันกับความต้องการของนักสร้างสรรค์โดยกลุ่มเป้าหมายของโฆษณาในกลุ่มผู้หญิงอายุ 36-55 ปี และกลุ่มอายุ 18-25 ปี ทั้งหญิงและชาย มีความเข้าใจในสารโฆษณาประเภทนี้ตรงกับนักสร้างสรรค์มากที่สุดเมื่อเทียบกับกลุ่มอื่นen
dc.description.abstractalternativeThis qualitative research aimed: 1) to study message design techniques of Non-Copy Printed Advertising by interviewing with the creatives of 12 sampled advertisements nominated for best advertising in 1995-2000 TACT Awards Contest. 2) to study the effectiveness of Non-Copy Printed Advertising, using focus group discussion with 6 advertisements' target groups, a total of 38, in terms of perceptions and comprehension. The results showed that : 1) The most popular message design techniques were symbols, visual closures and forced relationships respectively. The connotative meaning techniques that were mostly used were symbols, metaphor and index 2) The majority of respondents were able to understand the message that the creatives intended to convey. It was also found that male and female respondents, aged 18-25; and female respondents, aged 36-55 were able to understand the meaning of the advertisement more than other groupsen
dc.format.extent3730422 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2001.385-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการสื่อสารโดยไม่ใช้คำพูดen
dc.subjectโฆษณาen
dc.subjectแผ่นโฆษณาen
dc.titleประสิทธิผลของงานโฆษณาสิ่งพิมพ์ ที่สื่อความหมายด้วยภาพโดยปราศจากข้อความen
dc.title.alternativeThe effectiveness of using non-copy printed advertisingen
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการโฆษณาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.email.advisorWorawat.C@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2001.385-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Napharawee.pdf3.64 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.