Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52009
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSauwakon Ratanawijitrasin-
dc.contributor.authorSanita Hirunrassamee-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Pharmaceutical Sciences-
dc.coverage.spatialThailand-
dc.date.accessioned2017-02-20T07:18:38Z-
dc.date.available2017-02-20T07:18:38Z-
dc.date.issued2006-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52009-
dc.descriptionThesis (Ph.D.)--Chulalongkorn University, 2006en_US
dc.description.abstractThe purposes of this study were to assess the impacts of insurance payment methods on quality, equity and efficiency of health care services. Electronic database and hard copy of medical records from three public hospitals during 2003-2005 fiscal years were used in the assessment. Acute low back pain, acute upper gastrointestinal bleeding (AUGIB), epilepsy and lung cancer were employed as tracer diseases. Chi- square was used to assess the effects of payment methods on access to care and quality dimension of practice patterns. Shorrocks index was applied to measure inequality of drug cost of treatment in each tracer disease. Cost-effectiveness technique was used to assess impacts of payment methods on efficiency of health care services. It was found that new drugs, drugs in dosage form with high technology and high cost equipment were prescribed to patients using open-ended payment method in statically significant higher percentage than for patients covered by close-ended payment system. However, there was no difference in the access to required drugs, to supportive drugs and to gastroscope among patients with any insurance systems. Furthermore, there was no significant associate between the payment methods and the adherence to the critical recommendations of standard practice guidelines. By contrast, fewer open-ended paying epileptic patients suffered ADRs and received better management than those in insurance scheme using close-ended payment method. Shorrocks index on the cost of drug treatment indicated inequality among patients with different payment schemes. Better efficiency was found in the treatment of epilepsy for service in open-ended payment scheme, and in the treatment of UGIB and lung cancer in close-ended schemes. Evidence form this study indicates that payment methods have impacts on access to high cost services with drugs appear to be the first target of cost control.en_US
dc.description.abstractalternativeงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของการวิธีจ่ายเงินที่แตกต่างกัน ในระบบประกันสุขภาพของประเทศไทย ที่มีต่อการเข้าถึงบริการสุขภาพ ความเท่าเทียมกันของการรักษาด้วยยา คุณภาพการให้บริการและประสิทธิภาพการดูแลรักษา โรงพยาบาลที่ศึกษาเป็นโรงพยาบาลรัฐบาล จำนวน 3 แห่งที่มีข้อมูลและสามารถเข้าใช้ข้อมูลการจ่ายยาจากฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์และจากเวชระเบียนผู้ป่วยได้ โดยศึกษาในกลุ่มผู้ป่วย ภายใต้ระบบประกันสุขภาพ 3 ระบบหลักได้แก่ ระบบ 30 บาท ระบบประกันสังคม และสวัสดิการข้าราชการ ที่เข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลทั้ง 3 แห่ง ในช่วงปีงบประมาณ 2546-2548 ด้วยโรคปวดหลังเฉียบพลัน โรคเลือดออกในทางเดินอาหารเฉียบพลัน โรคลมชัก และโรคมะเร็งปอด การศึกษาครั้งนี้ใช้ไคร์สแควร์ ในการประเมินผลกระทบของการวิธีจ่ายเงินที่แตกต่างกัน ต่อการเข้าถึงบริการสุขภาพ และ คุณภาพการบริบาล ใช้ดัชนี Shorrocks วัดความแตกต่างของต้นทุนการักษาด้วยยาของผู้ป่วยแต่ละรายในกลุ่มโรคเดียวกัน เพื่อสะท้อนการกระจายของต้นทุนการรักษาด้วยยา และใช้ ต้นทุน-ประสิทธิผล เพื่อประเมินประสิทธิภาพการให้บริการผู้ป่วยในแต่ละวิธีการจ่ายเงินที่แตกต่างกัน ผลการศึกษาพบว่า แพทย์สั่งจ่ายยาใหม่ และยาเม็ดรูปแบบพิเศษและสั่งการตรวจด้วยเครื่องมือราคาแพงให้แก่ผู้ป่วยในสวัสดิการข้าราชการในสัดส่วนที่มากกว่าผู้ป่วยในระบบ 30 บาท ระบบประกันสังคมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และพบว่า แพทย์สั่งจ่ายยาที่ต้องใช้ในการรักษาโรคเลือดออกในทางเดินอาหารเฉียบพลัน และยาบรรเทาอาการข้างเคียงจากการให้เคมีบำบัด ให้กับผู้ป่วยภายใต้ระบบประกันสุขภาพทั้ง 3 ระบบไม่แตกต่างกัน นอกจากนี้พบว่า วิธีการจ่ายเงินของระบบประกันสุขภาพมีผลต่อคุณภาพในการบริบาลผลข้างเคียงที่เกิดจากยารักษาโรคลมชัก โดยผู้ป่วยภายใต้สวัสดิการข้าราชการได้รับการบริบาลที่เหมาะสมกว่า ผู้ป่วยในระบบ 30 บาทและประกันสังคม และพบว่า จำนวนผู้ป่วยโรคลมชักที่ได้รับผลข้างเคียงจากยา ในระบบ30 บาทและประกันสังคม มีจำนวนสูงกว่าในระบบสวัสดิการข้าราชการอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ แต่ไม่มีผลต่อคุณภาพการบริบาลในการรักษาตามมาตรฐานการรักษาของโรคเลือดออกในทางเดินอาหารเฉียบพลัน และมะเร็งปอด และค่า shorrocks แสดงให้เห็นถึงความไม่เท่าเทียมกันของค่าใช้จ่ายในการรักษา นอกจากนี้พบว่าวิธีการจ่ายเงินแบบปลายเปิดกระตุ้นให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการรักษาโรคลมชัก ส่วน การจ่ายเงินแบบปลายปิด ส่งผลให้เกิดประสิทธิภาพในการให้บริการสูงสุดในโรคเลือดออกในทางเดินอาหารเฉียบพลันและมะเร็งปอด ผลการศึกษาเหล่านี้สนับสนุนว่าวิธีการจ่ายเงินค่าบริการมีผลต่อการเข้าถึงบริการราคาแพง นอกจากนี้ยาเป็นเป้าหมายแรกของการควบคุมค่าใช้จ่ายในการจ่ายเงินแบบปลายปิดen_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.2110-
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectHealth insurance -- Thailanden_US
dc.subjectMedical care -- Thailanden_US
dc.subjectประกันสุขภาพ -- ไทยen_US
dc.subjectบริการทางการแพทย์ -- ไทยen_US
dc.subjectปริญญาดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.titleEfficiency, Quality and Equity of hospital service under multiple health insurance payment environmenten_US
dc.title.alternativeประสิทธิภาพ คุณภาพ และความเท่าเทียมกันในการจัดบริการของโรงพยาบาล ภายใต้วิธีการจ่ายเงินที่แตกต่างกันของกองทุนประกันสุขภาพen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameDoctor of Philosophyen_US
dc.degree.levelDoctoral Degreeen_US
dc.degree.disciplineSocial and Administrative Pharmacyen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisorSauwakon.R@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.2110-
Appears in Collections:Pharm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
sanita_hi_front.pdf1.68 MBAdobe PDFView/Open
sanita_hi_ch1.pdf796.9 kBAdobe PDFView/Open
sanita_hi_ch2.pdf3.72 MBAdobe PDFView/Open
sanita_hi_ch3.pdf4.73 MBAdobe PDFView/Open
sanita_hi_ch4.pdf4.68 MBAdobe PDFView/Open
sanita_hi_ch5.pdf2.88 MBAdobe PDFView/Open
sanita_hi_ch6.pdf450.42 kBAdobe PDFView/Open
sanita_hi_back.pdf2.26 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.