Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52074
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทวีวงศ์ ศรีบุรี-
dc.contributor.advisorทรรศนีย์ พฤกษาสิทธิ์-
dc.contributor.authorอรุณศักดิ์ โสภณธรรมภาณ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.coverage.spatialตราด-
dc.coverage.spatialเกาะช้าง-
dc.date.accessioned2017-02-27T08:33:19Z-
dc.date.available2017-02-27T08:33:19Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52074-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en_US
dc.description.abstractเกาะช้าง เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีการพัฒนาเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว จึงควรติดตามปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมเป็นระยะ ผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศ 7 ดัชนีพบว่า บริเวณหาดทรายขาว ช่วงการท่องเที่ยวน้อย ฝุ่นละอองรวมและฝุ่นละอองขนาดไม่เกิด 10 ไมครอนมีคา 0.406 และ 0.139 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เมตรซึ่งเกิดค่ามาตรฐาน ดัชนีคุณภาพอากาศเท่ากับ 108 เนื่องจากมีการก่อสร้างมาก แต่ในช่วงการท่องเที่ยวมาก ไม่มีค่าใดเกินมาตรฐาน เพราถูกระงับการก่อสร้างเพื่อรองรับนักท่องเที่ยว ผลการวิเคราะห์ระดับเสียงเฉลี่ยในเวลา 24 ชั่วโมง จำนวน 3 สถานีในช่วงการท่องเที่ยวน้อยคือหาดทรายขาว 66.8 เดซิเยล ชุมชนบางเบ้า 59.9 เดซิเบล และชุมชนสลักเพชร 56.6 เดซิเบล และระดับเสียงเฉบี่ยในเวลา 24 ชั่วโมงในช่วงการท่องเที่ยวมากของหาดทรายขาวคือ 65.7 เดซิเบล ชุมชนบางเบ้า 61.9 เดซิเบล และชุมชนสลักเพชร 52.3 เดซิเบล ซึ่งมีมีสถานีใดที่ระดับเสียงเกินค่ามาตรฐาน ผลการสอบถามความคิดเห็นของประชาชนพบว่า คุณภาพอากาศบริเวณชายหาดอยู่ในเกณฑ์ดีมาก บริเวณถนนอยู่ในเกณฑ์ดีและปานกลาง ยอมรับได้ร้อยละ 95 ระดับเสียงบริเวณชายหาดไม่ดังรบกวน แต่บริเวณถนน ร้อยละ 33 คิดว่าระดับเสียงดัง แต่ก็ยอมรับได้ร้อยละ 90 ส่วนชุมชนบางเบ้าและชุมชนสลักเพชรประชาชนร้อยละ 97 คิดว่าระดับเสียงไม่ดัง เมื่อนำผลการตรวจสัดคุณภาพอากาศและระดับเสียงเฉพาะในช่วงการท่องเที่ยวมาก และผลการสอบถาม มาวิเคราะห์ขีดความสามารถในการรองรับได้ พบว่า เกาะช้างยังไม่เกินขีดความสามารถในการรองรับได้en_US
dc.description.abstractalternativeChang Island, a tourist attraction has been rapidly developed. Therefore, it should be periodically monitored in terms of environmental problems. The result of air quality measurement indicated that the concentration of total suspended particulate or TSP and particulate matter with diameter less than 10 microns or PM ware 0.406 and 0.139 mg/m which exceeded the standard level in the low season, and the air quality index was 108, due to a lot of constructions; The figures was over the standard during the high season because all construction ware suspended for tourists reception. The results 0f 24-hour-measurement of average noise levels at 3 stations in the low season, namely Had Sai Khao, BanBao Village, and Salak Phet Village, were 66.8 dB, 59.9 dB, and 56.6 dB, respectively. For the high season, the average noise levels in 24 hours were 65.7 dB at Had Sai Khao, 61.9 dB in Bang Bao Village, and 52.3 dB in Salak Phet Village. No stations were over the noise levels standard. According to the measured questionnaire, air quality around the beach was very good, while it was good and fair on the road side and 95% of respondents accepted. The noise level around the beach was not annoying; 33% of them felt annoying on the road side. However, 90% of them accepted. In Bang Bao and Salak Phet Villages, 97% felt that the noise was not loud. Based on the air quality measurement results, noise level, and questionnaire, the carrying capacity (CC) was not over the limitation.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.595-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectคุณภาพอากาศ -- ไทย -- ตราดen_US
dc.subjectมลพิษทางเสียง -- ไทย -- ตราดen_US
dc.subjectไทย -- ตราด -- ภูมิประเทศและการท่องเที่ยวen_US
dc.subjectAir quality -- Thailand -- Traten_US
dc.subjectNoise pollution -- Thailand -- Traten_US
dc.subjectThailand -- Trat -- Description and travelen_US
dc.titleคุณภาพอากาศ ระดับเสียง และขีดความสามารถในการรองรับได้บนเกาะช้างen_US
dc.title.alternativeAir quality, noise level and carrying capacity on Chang islanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม (สหสาขาวิชา)en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorThavivongse.S@chula.ac.th-
dc.email.advisortassanee.c@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.595-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
aroonsak_so_front.pdf1.09 MBAdobe PDFView/Open
aroonsak_so_ch1.pdf478.38 kBAdobe PDFView/Open
aroonsak_so_ch2.pdf4.55 MBAdobe PDFView/Open
aroonsak_so_ch3.pdf1.24 MBAdobe PDFView/Open
aroonsak_so_ch4.pdf4.04 MBAdobe PDFView/Open
aroonsak_so_ch5.pdf688.88 kBAdobe PDFView/Open
aroonsak_so_back.pdf2.05 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.