Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52146
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSudaporn Luksaneeyanawinen_US
dc.contributor.authorKamolphan Jangarunen_US
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Graduate Schoolen_US
dc.date.accessioned2017-03-03T03:01:04Z-
dc.date.available2017-03-03T03:01:04Z-
dc.date.issued2016en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52146-
dc.descriptionThesis (Ph.D.)--Chulalongkorn University, 2016en_US
dc.description.abstractThe study examined the use of English discourse connectors (DCs) in three main aspects: Orthography, Syntax, and Semantics and Pragmatics including the frequency of use and errors of DC lexis in argumentative essays written by native speakers of English (NSs), and non-native speakers of English (NNSs). For the NSs, 20 essays out of 43 essays from English native speaker undergraduate corpus, LOCNESS, was employed in this study. For the NNSs, the data were drawn from the essays written by 300 students from various universities in and around Bangkok. The 40 essays of the NNSs were selected: 20 from the top high English exposure (NNSHs), and 20 from the bottom low English exposure (NNSLs) by using English Language Exposure Questionnaire scores. Altogether, there were 60 argumentative essays randomly specified and selected for this study. For the DCs analysis, the frameworks proposed by Halliday & Hasan (1976), Biber et al (1999), and Cowan (2008) were adopted and employed. The aims of the study were (1) to describe the use of English DCs of NSs, NNSHs, and NNSLs, (2) to compare and contrast the DCs used in argumentative essays among NSs, NNSHs, and NNSLs, and identify the problems of the DCs used in the two NNS groups, and (3) to analyze the patterns and problems of DC usage in argumentative essays between NNSHs and NNSLs. The clarification was based on interlanguage study. Both descriptive statistic, and inferential statistic were used to describe the data and to test whether the differences found among the sample groups were significant or not. The following findings were found, (1) the frequency of the use of English discourse connectors among the three sample groups was significant difference in the Causal and Temporal types between the NSs and both of the NNSs., (2) in terms of the Orthography, the use of DCs were different between the NSs and the NNSs due to negative L1 transfer, overgeneralization, and insufficient knowledge in punctuation usage, (3) in terms of Syntax, the NSs and the NNSHs showed the similarity in the use of all the three sentence types and the sentential positions, whereas the NNSLs showed significant differences in the use of all three sentence types, and the sentence initial position. The differences in the use of DCs in the NSs and both groups of the NNSs could be the effect of all the five factors caused by interlanguage development i.e. Language Transfer, Transfer of training, Strategies of second language communication, Strategies of second language learning and Overgeneralized, and (4) in terms of Semantics and Pragmatics, It was found that out of the 62 DCs lexis with a total of 865 tokens that were used, the 2 DCs lexis “and” with 22 tokens, and “finally” with 3 tokens exhibited their multi pragmatic functions, i.e., there were not a one-to-one relationship between their semantic functions and the pragmatic uses. “and” was found used not only as “additive” but also as “adversative” and “causal”. “finally” in the “ordering” semantic category was found used as “ordering” as well as “causal” and “summation”. The NSs and the NNSHs had similar patterns of the use of “and” and “finally”. Conversely, the NNSLs showed the differences in the use of DCs in this aspect. Based on the findings of the study, recommendations for further research and pedagogical implications are given in order to develop the way in which discourse connectors should be investigated and taught.en_US
dc.description.abstractalternativeการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการใช้หน่วยเชื่อมโยงปริเฉทของภาษาอังกฤษในเรียงความเชิงโต้แย้งโดยกลุ่มเจ้าของภาษาและกลุ่มนิสิตไทยผู้ซึ่งไม่ได้พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ ในสามแง่มุม คือ การเขียนและการใช้เครื่องหมายวรรคตอน วากยสัมพันธ์ และ อรรถศาสตร์และวัจนปฏิบัติศาสตร์ โดยศึกษาปริมาณและข้อผิดในการใช้หน่วยเชื่อมโยงปริเฉท ข้อมูลในการวิจัยประกอบด้วยเรียงความ 20 ชิ้นของผู้เขียนที่เป็นเจ้าของภาษาโดยเลือกมาจากเรียงความจำนวน 43 ชิ้นในคลังข้อมูลล็อคเนส (LOCNESS) สำหรับข้อมูลของกลุ่มนิสิตไทย สุ่มตัวอย่างจากเรียงความซึ่งเขียนโดยนิสิตไทยจำนวน 300 คนจากหลากหลายมหาวิทยาลัยในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลรอบนอกกรุงเทพมหานคร โดยกำหนดเกณฑ์การเลือกสุ่ม โดยเลือกเรียงความของกลุ่มที่มีคะแนนประสบการณ์การสัมผัสภาษาอังกฤษสูงสุดจำนวน 20 ชิ้น และกลุ่มที่มีประสบการณ์การสัมผัสภาษาอังกฤษต่ำสุดจำนวน 20 ชิ้น รวมข้อมูลเรียงความเชิงโต้แย้งทั้งหมด 60 ชิ้น สำหรับการวิเคราะห์หน่วยเชื่อมโยงปริเฉท ใช้แนวความคิดของ ฮาลิเดย์และฮาซาน (Halliday & Hasan,1976) ไบเบอร์และคณะ (Biber et al, 1999) และ โควาน (Cowan, 2008) มาสร้างกรอบการ วิเคราะห์ในการวิจัยนี้ จุดประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้คือ (1) เพื่ออธิบายการใช้หน่วยเชื่อมโยงปริเฉทภาษาอังกฤษในเรียงความเชิงโต้แย้งของกลุ่มเจ้าของภาษา กลุ่มนิสิตไทยที่มีการสัมผัสภาษาอังกฤษสูง และ กลุ่มนิสิตไทยที่มีการสัมผัสภาษาอังกฤษต่ำ (2) เพื่อเปรียบเทียบความเหมือนและความต่างของการใช้หน่วยเชื่อมโยงปริเฉทในเรียงความเชิงโต้แย้งของกลุ่มตัวอย่างทั้งสาม พร้อมทั้งระบุปัญหาของการใช้หน่วยเชื่อมโยงปริเฉทในเรียงความเชิงโต้แย้งในกลุ่มนิสิตไทยซึ่งไม่ได้พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ทั้งสองกลุ่ม และ (3) เพื่อวิเคราะห์รูปแบบและปัญหาของการใช้หน่วยเชื่อมโยงปริเฉทในเรียงความเชิงโต้แย้งระหว่างกลุ่มนิสิตไทยที่มีประสบการณ์ทางภาษาต่างกันในแนวทางของการศึกษาในระหว่าง การศึกษาครั้งนี้มีการใช้ทั้งสถิติเชิงพรรณนา และ สถิติเชิงอนุมานในการพรรณนาข้อผิดและทดสอบว่าความแตกต่างที่พบในกลุ่มตัวอย่างทั้งสามมีความต่างอย่างมีนัยสำคัญหรือไม่ การวิจัยได้ผลดังนี้ (1) ความถี่ของการใช้หน่วยเชื่อมโยงปริเฉทภาษาอังกฤษในสามกลุ่มตัวอย่างมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญในประเภทของความเป็นเหตุและผล และประเภทเวลาระหว่างกลุ่มเจ้าของภาษาและกลุ่มนิสิตไทยผู้ซึ่งไม่ได้พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ทั้งสองกลุ่ม (2) ในแง่ของข้อผิดในการสะกดคำและการใช้เครื่องหมายวรรคตอน มีการใช้หน่วยเชื่อมโยงปริเฉทที่แตกต่างกันระหว่างกลุ่มเจ้าของภาษาและกลุ่มนิสิตไทย อธิบายได้ว่าเกิดจากการถ่ายโอนทางภาษา จากข้อสรุปเกินเหตุ และจากการขาดความรู้การใช้เครื่องหมายวรรคตอนในภาษาอังกฤษ (3) ในแง่ของวากยสัมพันธ์ กลุ่มเจ้าของภาษา และกลุ่มนิสิตไทยที่มีการสัมผัสภาษาอังกฤษสูงมีปัญหาในการใช้หน่วยเชื่อมโยงปริเฉทเหมือนกันในรูปประโยคทั้งสามแบบรวมทั้งตำแหน่งที่เกิดของหน่วย ในขณะที่กลุ่มนิสิตไทยที่มีการสัมผัสภาษาอังกฤษต่ำมีความแตกต่างกับกลุ่มตัวอย่างอื่นอย่างมีนัยสำคัญ ความแตกต่างในการใช้หน่วยเชื่อมโยงปริเฉทของกลุ่มตัวอย่างทั้งสามอาจมาจากผลกระทบของปัจจัยทั้งห้าข้อซึ่งเป็นผลมาจากกระบวนการพัฒนาของภาษาในระหว่างของผู้เรียนภาษาที่สอง ได้แก่ การโอนถ่ายโอนทางภาษา การถ่ายโอนจากการสอน กลยุทธ์การสื่อสารภาษาที่สอง กลยุทธ์การเรียนรู้ภาษาที่สอง และ การสร้างข้อสรุปเกินเหตุ (4) ในแง่ของอรรถศาสตร์และวัจนปฏิบัติศาสตร์ พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีการใช้หน่วยเชื่อมโยงปริเฉททั้งสิ้น 62 หน่วย โดยมีปริมาณคำที่ใช้ทั้งสิ้น 865 คำ มีหน่วยเชื่อมโยงปริเฉท 2 หน่วยที่ทำหน้าที่ที่หลากหลายในทางวัจนปฏิบัติศาสตร์ คือ “and” ซึ่งนับความถี่รายคำได้ 22 ครั้ง และ “finally”ซึ่งนับความถี่รายคำได้ 3 ครั้ง หน่วยเชื่อมโยงปริเฉททั้งสองนี้ไม่ได้ถูกใช้ในลักษณะที่ความหมายทางอรรถศาสตร์และหน้าที่ทางวัจนปฏิบัติศาสตร์ตรงกัน ทั้งนี้พบว่า “and” ไม่ได้นำมาใช้ในหน้าที่ของการเพิ่มเติมความเท่านั้นแต่ยังนำมาใช้กับการแสดงความขัดแย้ง และการแสดงเหตุและผล ในขณะที่ “finally” ซึ่งในทางอรรถศาสตร์อยู่ในประเภทการลำดับ พบว่ามีการนำมาใช้ในการแสดงเหตุและผล และการสรุป ส่วนกลุ่มเจ้าของภาษาและกลุ่มนิสิตไทยที่มีการสัมผัสภาษาอังกฤษสูงมีรูปแบบการใช้“and” และ “finally” ที่คล้ายกัน ในทางกลับกันกลุ่มนิสิตไทยที่มีการสัมผัสภาษาอังกฤษต่ำมีการใช้หน่วยเชื่อมโยงปริเฉทคู่นี้ในลักษณะที่ต่างออกไป ผลการศึกษาสามารถนำไปเป็นแนวทางในการศึกษาวิจัยและประยุกต์ใช้กับการเรียนการสอนหน่วยเชื่อมโยงปริเฉทต่อไปen_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2016.1543-
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectEssay-
dc.subjectEnglish language -- Study and teaching-
dc.subjectการแต่งร้อยแก้ว-
dc.subjectภาษาอังกฤษ -- การศึกษาและการสอน-
dc.titleAn interlanguage study of English discourse connectors in argumentative essays by Thai university studentsen_US
dc.title.alternativeการศึกษาภาษาในระหว่างของหน่วยเชื่อมโยงปริเฉทของภาษาอังกฤษในการเขียนเรียงความเชิงโต้แย้งในนิสิตไทยระดับมหาวิทยาลัยen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameDoctor of Philosophyen_US
dc.degree.levelDoctoral Degreeen_US
dc.degree.disciplineEnglish as an International Languageen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisorSudaporn.L@Chula.ac.th,Sudaporn.L@chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2016.1543-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5487751820.pdf7.76 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.