Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52213
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorMontri Choowongen_US
dc.contributor.advisorSumet Phantuwongrajen_US
dc.contributor.authorStapana Kongsenen_US
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Scienceen_US
dc.date.accessioned2017-03-03T03:02:38Z-
dc.date.available2017-03-03T03:02:38Z-
dc.date.issued2016en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52213-
dc.descriptionThesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2016en_US
dc.description.abstractThe analysis of ancient storm deposits in Changwat Prachuap Khiri Khan along the Gulf of Thailand is aimed to analyze the sedimentological characteristics and to define depositional age of ancient storm. Ancient storm sediments were found within a distance of 350 m landward from the present shoreline. Thickness of ancient storm deposits varies from 0.5 to 50 cm. The numbers of ancient storm layers possibly indicate the numbers of storm occurrences through time. In this research, ancient storm layers were found up to twenty-seven layers. Grain size of ancient storm sediments ranges from coarse- to very fine-grained sand. Sedimentary structures of ancient storm deposits contain sharp upper and lower contact, normal and reverse grading, parallel lamination and mud rip-up clasts. The thicknesses and grain size of deposit are thinner and finer landward. Furthermore, ancient storm layers contain several microfossils (foraminifera and ostracod) and macrofossils (gastropod and bivalve). The ancient storm sediments contain mostly quartz, heavy minerals and shell fragments. The results of Optically Stimulated Luminescence ages from beach ridges and the correlation of AMS radiocarbon age from a wood fragment from the adjacent area indicate that there are four ancient storm layers occurred in the late-Holocene to the mid-Holocene. There are twenty-three ancient storm layers older than the mid-Holocene. The variability in number of ancient storm deposit during two periods may due to several controlling factors including potential preservation of the area, storm characteristic, the intensity of storm, wind speed, surge height, and climatic condition in the past.en_US
dc.description.abstractalternativeการวิเคราะห์การสะสมตัวของพายุโบราณในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์บริเวณพื้นที่ชายฝั่งทางด้านอ่าวไทย มีจุดประสงค์เพื่อวิเคราะห์ลักษณะทางตะกอนวิทยา และหาอายุของการสะสมตัวของพายุที่เคยเกิดขึ้นในอดีต ตะกอนพายุโบราณที่เกิดจากพายุรุนแรงสะสมตัวอยู่ในบริเวณพื้นที่ลุ่มต่ำด้านหลังแนวสันทรายซึ่งอยู่ห่างเป็นระยะทาง 350 เมตรจากชายฝั่งทะเลในปัจจุบัน การสะสมตัวของชั้นตะกอนพายุโบราณมีความหนาตั้งแต่ 0.5-50 เซนติเมตร โดยจำนวนการสะสมตัวของชั้นทรายในแต่ละชั้นน่าจะบ่งบอกถึงจำนวนการเกิดเหตุการณ์ของพายุรุนแรง ในการศึกษานี้พบชั้นทรายของพายุโบราณสะสมตัวมากถึง 27 ชั้น ขนาดทรายของตะกอนพายุโบราณมีขนาดตั้งแต่ขนาดทรายหยาบไปถึงทรายละเอียดมาก โครงสร้างทางตะกอนประกอบด้วย รอยสัมผัสแบบไม่ต่อเนื่องชัดเจนทั้งด้านบนและด้านล่างของชั้นทราย การเรียงตัวของขนาดเม็ดตะกอนในแนวดิ่งแบบปกติจากขนาดใหญ่ไปขนาดเล็ก และแบบผกผันจากขนาดเล็กไปขนาดใหญ่ พบมีชั้นทรายบางซ้อนกันในแนวขนาน และเศษตะกอนโคลนจากชั้นดินเดิมถูกกัดเซาะนำพาขึ้นมาสะสมตัวปนอยู่กับตะกอนในชั้นทราย ความหนาของชั้นทรายมีลักษณะบางลงและขนาดทรายมีลักษณะละเอียดขึ้นในทิศทางจากชายฝั่งเข้าสู่แผ่นดิน นอกจากนี้ในชั้นตะกอนพายุโบราณยังประกอบไปด้วยซากดึกดำบรรพ์ขนาดเล็ก คือ ฟอแรมมินิเฟอราและออสตราคอด และซากดึกดำบรรพ์ขนาดใหญ่พวกหอยฝาเดียวและหอยสองฝาจำนวนมาก องค์ประกอบของพายุโบราณประกอบด้วยแร่ควอตซ์ แร่หนัก และเศษเปลือกหอย ผลการหาอายุด้วยวิธีกระตุ้นด้วยแสงจากตะกอนของสันทราย และการเทียบเคียงผลอายุกัมมันตรังสีโดยวิธีเอเอ็มเอสจากเปลือกไม้ในพื้นที่ใกล้เคียงกับพื้นที่ศึกษาพบว่า มีชั้นตะกอนพายุโบราณ 4 ชั้นที่มีอายุการสะสมตัวอยู่ในช่วงระหว่างสมัยโฮโลซีนตอนกลางถึงสมัยโฮโลซีนตอนปลาย และในช่วงอายุมากกว่าสมัยโฮโลซีนตอนกลางมีการสะสมตัวของพายุโบราณจำนวน 23 ชั้น การผันแปรของจำนวนการสะสมตัวของพายุในอดีตระหว่างช่วงอายุสองช่วงของพื้นที่ศึกษานี้มีปัจจัยที่ควบคุมคือ ศักยภาพของพื้นที่ในการสะสมตัว ลักษณะของพายุ ความรุนแรงของพายุ ความเร็วลมของพายุ ความสูงของคลื่นพายุซัดฝั่ง และสภาพภูมิอากาศในอดีตen_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2016.1612-
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectSediments (Geology) -- Analysis-
dc.subjectSediments (Geology) -- Thailand-
dc.subjectตะกอน (ธรณีวิทยา) -- ไทย -- ประจวบคีรีขันธ์-
dc.subjectตะกอน (ธรณีวิทยา) -- การวิเคราะห์-
dc.titleANALYSIS OF ANCIENT STORM DEPOSITS IN CHANGWAT PRACHUAP KHIRI KHANen_US
dc.title.alternativeการวิเคราะห์ตะกอนพายุโบราณในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameMaster of Scienceen_US
dc.degree.levelMaster's Degreeen_US
dc.degree.disciplineGeologyen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisorMontri.C@Chula.ac.th,monkeng@hotmail.comen_US
dc.email.advisorSumet.P@chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2016.1612-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5672179523.pdf9.03 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.