Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52319
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสริชย์ โชติพานิชen_US
dc.contributor.authorธเนศร์ พฤฒิสาลิกรen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2017-03-03T03:05:20Z-
dc.date.available2017-03-03T03:05:20Z-
dc.date.issued2559en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52319-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (สถ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีจุดประสงค์ที่จะศึกษานโยบายการบำรุงรักษาอาคารในหน่วยงานราชการทหารโดยมุ่งศึกษาเกี่ยวกับภาพรวมของแผนการบำรุงรักษาอาคาร กระบวนการการวางแผนงานซ่อมบำรุงรักษาอาคาร เกณฑ์เงื่อนไขการให้ความสำคัญของอาคาร งบประมาณที่ใช้ในการบำรุงรักษาอาคาร และสภาพอาคารในปัจจุบัน โดยทำการเลือกกรณีศึกษาที่มีการดำเนินการด้านบำรุงรักษาอาคารระยะเวลานานเพียงพอที่จะทำการศึกษาแบบแผนต่างๆที่เกิดขึ้น เพื่อใช้เป็นแนวทางในการวางแผนบำรุงรักษาอาคารสำหรับหน่วยงานราชการที่มีขนาดใกล้เคียงกันต่อไป งานวิจัยนี้ดำเนินการโดยการวบรวมข้อมูลอาคารของทุกกรณีศึกษาทั้ง 5 แห่งและศึกษาแผนการดำเนินการเกี่ยวกับอาคารย้อนหลัง 6 ปี คือในช่วงปี พ.ศ.2553-2558 โดยนับรวมจำนวนอาคารได้ 264 หลัง ในทั้งหมดนี้จำแนกออกเป็น 4 ประเภทอาคาร คือ อาคารสำนักงาน อาคารที่พักอาศัย อาคารสนับสนุนและอาคารอื่นๆ โดยทำการศึกษาลักษณะงานที่กำหนดในแผนงานของอาคารแต่ละหลังที่กำหนดเป็นรายปีและนำไปอ้างอิงกับทฤษฎีการบำรุงรักษาอาคารเพื่อหาข้อสรุปแนวทางในการวางแผนบำรุงรักษาอาคารของแต่ละกรณีศึกษาและนำแนวทางดังกล่าวไปเปรียบเทียบกับงบประมาณที่ใช้ในแต่ละปีว่ามีความสอดคล้องกันหรือไม่อย่างไรและวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่าง นโยบาย แผน และงบประมาณ ว่าส่งผลต่อสภาพอาคารอย่างไร ผลจากการศึกษาพบว่าการวางแผนบำรุงรักษาอาคารมีความจำเป็นต่อหน่วยงานราชการทหารที่มีงบประมาณจำกัด เพราะจะสามารถทำให้ภาพรวมของอาคารภายในหน่วยอยู่ในสภาพดี พร้อมใช้งาน มีเพียงบางอาคารที่ไม่พร้อมใช้งาน แต่สามารถรอการบำรุงรักษาได้ไม่มีความจำเป็นเร่งด่วน และสามารถจัดสรรงบประมาณได้คุ้มค่า แต่หากไม่มีการสร้างระเบียบแบบแผนชัดเจนว่าต้องวางแผนในการบำรุงรักษารูปแบบใด จะส่งผลให้งบประมาณและทรัพยากรต่างๆที่ใช้ในการบำรุงรักษาไม่เพียงพออาจทำให้เกิดความล่าช้าและเสียหายได้ดังนั้นอาคารหน่วยงานราชการทหารที่มีโครงสร้างของหน่วยเหมือนกัน จึงจำเป็นต้องมีการวางแผนการดำเนินการและใช้งบประมาณในการบำรุงรักษาอาคารให้เป็นไปในแนวทางเดียวกัน จึงทำให้การวางแผนบำรุงรักษาอาคารในหน่วยงานของหน่วยบัญชาการทหารพัฒนาสามารถเป็นแนวทางให้กับหน่วยงานอื่นๆต่อไปได้ในอนาคตen_US
dc.description.abstractalternativeThe propose of this thesis is to study about the policy of building maintenance in military unit that focused on overall of building maintenance plan, building maintenance planning process, giving priority of its condition, maintenance budget payment and current condition of those building. The building which has been kept in good condition for long enough time; was chosen as a typical case to study about work flow pattern or method occurred in process in order to use as an guideline to plan how to maintain the similar-size building such as government units This research consists of all information about 5 cases and processing building plan which are collected over the past 6 years 2010-2016, total 264 buildings classified into 4 types: office building residential building, support building and other building. Each building was studies the specific work plan annually, then referred to building maintenance theory; compared to the budget expensed each year weather they match up or not, and finally analyzed the relationship between policy, plan and budget how they affect the building condition. The study found maintenance building plan is necessary in military units that have low budget; because it keep the overall building in government unit in good condition and be ready to apply. There are not many unusable building but it is allowed to be waiting for maintenance afterward and worthy allocates the exist budget. But if there is no obvious regulations about maintenance pattern; it may cause insufficient for maintenance budget and resource; then cause the delay and damage. Therefore, small structural government units need to run the process in the same method as it has similarity in size. In conclusion, the main propose is to use the building maintenance plan in military unit of Armed Forces Development Command as an example which can be one of a guideline for other institute in the farther future.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2016.1176-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectอาคาร -- การบำรุงรักษาและการซ่อมแซม-
dc.subjectBuildings -- Maintenance-
dc.titleนโยบายและแนวทางการบำรุงรักษาอาคารในหน่วยงานราชการทหาร : กรณีศึกษา สำนักงานพัฒนาภาค1-5 หน่วยบัญชาการทหารพัฒนา กองบัญชาการกองทัพไทยen_US
dc.title.alternativePOLICY AND GUIDELINES OF BUILDING MAINTENANCE IN MILITARY UNIT : A CASE STUDY OF REGIONAL DEVELOPMENT OFFICE 1 - 5 , ARMED FORCES DEVELOPMENT COMMAND, ROYAL THAI ARMED FORCESen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineสถาปัตยกรรมen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSarich.C@Chula.ac.th,sarich.c@chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2016.1176-
Appears in Collections:Arch - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5773315825.pdf24.99 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.