Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52421
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกัลยา วัฒยากรen_US
dc.contributor.authorประพิม ปิยางสุen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัยen_US
dc.date.accessioned2017-03-03T03:07:49Z-
dc.date.available2017-03-03T03:07:49Z-
dc.date.issued2559en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52421-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการรับรู้และความเข้มแข็งของชุมชนในการอนุรักษ์และร่วมบริหารจัดการทรัพยากรชายฝั่งบริเวณพื้นที่ชุ่มน้ำดอนหอยหลอด จังหวัดสมุทรสงคราม เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามและการสัมภาษณ์ประชากร 400 คนที่อาศัยและทำงานอยู่ในพื้นที่ รวมทั้งนักท่องเที่ยวที่มาเยี่ยมชมพื้นที่ชุ่มน้ำดอนหอยหลอด วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ค่าเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก และวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว ประเมินมูลค่าทางเศรษฐกิจของพื้นที่ชุ่มน้ำโดยใช้การสำรวจความเต็มใจที่จะจ่าย (CVM: Contingent Valuation Method) เป็นเครื่องมือ ผลการศึกษาพบว่าปัจจัยที่สำคัญที่สุดสำหรับการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าชายเลนและหาดโคลนมาจากการปล่อยของเสียจากอุตสาหกรรม ในด้านการมีส่วนร่วมพบว่าประชาชนในพื้นที่ชุ่มน้ำดอนหอยหลอดมีระดับความเข้มแข็งในการมีส่วนร่วมอนุรักษ์ทรัพยากรอยู่ในระดับที่สูงมาก มูลค่าจากการใช้ประโยชน์จากป่าชายเลนในบริเวณพื้นที่ชุ่มน้ำดอนหอยหลอดทั้งทางตรงและทางอ้อมมีมูลค่า 34,505,229.49 บาทต่อปี มูลค่าความเต็มใจที่จะจ่ายทั้งหมดที่กลุ่มตัวอย่างเต็มใจที่จะจ่ายเพื่ออนุรักษ์พื้นที่ชุ่มน้ำดอนหอยหลอดเท่ากับ 309,142,988 บาทต่อปีen_US
dc.description.abstractalternativeThis research aims to study the level of community participation and empowerment in the conservation and management of Don Hoi Lot wetland, Samut Songkhram province. Data were collected using questionnaires and interviews with 400 people who live and work in the area, including tourists who visited Don Hoi Lot wetland. Data were analyzed using descriptive statistics such as frequency, mean, percentage, weighted average and one-way analysis of variance. The contingent valuation method was applied to assess the economic value of the wetland. The results of the study indicated that the most significant factor for the loss of biodiversity in both mangrove and mudflat areas was from industrial discharges. Community participation on Don Hoi Lot wetland resources conservation was found to be very high. The total annual benefit of the ecosystem services at Don Hoi Lot was estimated at 34,505,229.49 Baht per year. The respondents were willing to pay to preserve biodiversity at Don Hoi Lot at 309,142,988 Baht per year.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2016.152-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleการประเมินการจัดการทรัพยากรชายฝั่งอย่างมีส่วนร่วมของประชาชนในพื้นที่ชุ่มน้ำดอนหอยหลอด จังหวัดสมุทรสงครามen_US
dc.title.alternativeASSESSMENT OF COASTAL RESOURCES MANAGEMENT WITH LOCAL COMMUNITY PARTICIPATION AT DON HOI LOT WETLAND, SAMUT SONGKHRAM PROVINCEen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการบริหารกิจการทางทะเลen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorGullaya.W@Chula.ac.th,gullaya@gmail.com,Gullaya.W@chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2016.152-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5887165420.pdf3.59 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.