Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52439
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรสัณฑ์ บูรณากาญจน์-
dc.contributor.authorพัชร์ชนก หิรัญกาญจน์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2017-03-03T09:13:05Z-
dc.date.available2017-03-03T09:13:05Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52439-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551en_US
dc.description.abstractปัจจุบันปัญหาด้านสุขภาพที่เกี่ยวกับการออกกำลังกายน้อยกว่าอดีต การเพิ่มขึ้นของน้ำหนักตัวของร่างกายจึงเป็นสาเหตุของการเจ็บป่วยต่างๆ โดยเฉพาะกลุ่มโรค Non-communicated Disease (NCD) น้ำหนักตัวของร่างกายเพิ่มขึ้นเป็นสาเหตุของการเจ็บป่วยของโรคเหล่านี้ วิถีชีวิตปัจจุบันมีกิจกรรมการออกกำลังการน้อย การเสริมกิจกรรมการออกกำลังกายโดยแฝงการออกกำลังกาย การวิจัยนี้มุ่งศึกษาปัจจัยที่จูงใจให้ผู้ใช้อาคารอยากออกไปใช้พื้นที่ภายนอกอาคารซึ่งผสมผสานการออกกำลังกายโดยการเดินหรือเคลื่อนไหวร่างกายมากขึ้นเพื่อลดปริมาณการสะสมน้ำหนักตัว ปัจจัยการรับรู้ของมนุษย์ที่ส่งผลให้ผู้ใช้อาคารอยากออกไปใช้พื้นที่สวนภายนอกอาคาร ได้แก่ ปัจจัยการรับรู้ทางสายตา ทางเสียง ทางกลิ่นและทางร่างกาย ผลการวิจัยพบว่าปัจจัยด้านการรับรู้ทางสายตา ได้แก่ ความร่มรื่น ร่มเย็น มีสภาพธรรมชาติที่สวยงาม (ร้อยละ 61) ปัจจัยด้านการรับรู้ทางเสียง ได้แก่ เสียงธรรมชาติ และเสียงการพูดคุยของกลุ่มคน (ร้อยละ 70) ปัจจัยด้านการรับรู้ทางกลิ่น ได้แก่ กลิ่นดอกไม้ (ร้อยละ 60) ปัจจัยการรับรู้ทางร่างกาย ได้แก่ ความรู้สึกเย็นจากร่มเงาและต้นไม้ (ร้อยละ 67)กรณีศึกษาอาคารตัวอย่าง 3 อาคาร ได้แก่ บ้านพักอาศัยทั่วไป บ้านชีวาทิตย์ และอาคารอนุรักษ์พลังงานเฉลิมพระเกียรติ เพื่อทราบถึงอัตราการใช้พลังงานจากกิจกรรมที่มีอิทธิพลจากการออกแบบ เช่น ระยะทางเดิน ทางเดินโค้ง ทางราบและทางลาดเอียง เป็นต้น ผลการศึกษาพบว่า การใช้ปัจจัยการรับรู้ต่างๆ ประกอบกับการออกแบบให้มีการใช้กิจกรรมการเคลื่อนไหวร่างกายเพิ่มมากขึ้น ผู้ใช้อาคารใช้พลังงานมากขึ้นในวิถีชีวิตปกติ จากผลการศึกษาดังกล่าว นำไปออกแบบภูมิทัศน์รอบห้องเรียนธรรมชาติ ณ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์รังสิต เพื่อเก็บข้อมูลการใช้พื้นที่สวนภายนอกอาคารและปริมาณพลังงานที่ร่างกายใช้ในการออกกำลังกายแฝง ผลการเก็บข้อมูลสรุปว่า นักศึกษาและเจ้าหน้าที่ออกมาใช้พื้นที่ในสวนรอบอาคาร การใช้เนินดินและเส้นทางเดินโค้งประกอบกับการใช้ต้นไม้และร่มเงาที่ร่มรื่น ทำให้ร่างกายสามารถเผาผลาญพลังงานเพิ่มขึ้น หากคำนวณปริมาณพลังงานที่ใช้ในกิจกรรมออกกำลังการแฝงในหนึ่งสัปดาห์สามารถลดน้ำหนักตัวประมาณ 1 กิโลกรัมทุกๆ 7,700 แคลลอรี่ เมื่อประยุกต์ใช้ปัจจัยที่จูงใจให้ผู้ใช้อาคารอยากออกไปใช้พื้นที่และเกิดกิจกรรมภายนอกอาคารแล้ว การออกแบบสภาพแวดล้อมรอบอาคารจะช่วยเพิ่มการใช้พลังงานจากกิจวัตรประจำวันมากขึ้น จึงมีแนวโน้มที่จะลดการสะสมของอาหารส่วนเกินของวิถีชีวิตปัจจุบันen_US
dc.description.abstractalternativeHealth problem, today, has faced to a major concern. People life style today has less exercise than in the past. Non-communicated Disease (NCD) is caused by overweight body. To promote exercise in daily activities would help people to burn more calories. This research focused on modifying outdoor landscape to enhance walking distance, especially on the ramp paths. The four major factors to encourage people to spend outdoor time are visual, sound, smell, and thermal comfort. The results from questionnaires showed as beautifications and plants are the visual encourage factor (61 percent). Natural sound and people talking sound are the sound encourage factor (70 percent). Flower smell is the smell encourage factor (60 percent). Feeling cool, shade and shadow, and more tree are thermal comfort encourage factor (67 percent). Conventional house, Bio-solar home, and energy conserving building were evaluated. The results showed that more calories used from design as walking circulation on curve path and ramp. It is found that using all human perceptions in outdoor design encourages people to use outdoor area to increase body activities. It burns more calories during normal daily activities. All design factors were applied at Zero e Center at Faculty of Architecture and Planning, Thammasart University, Rangsit campus. Students and staffs used outdoor space in the morning, noon, and evening. With slope, tree, and shading encourage people to increase more activities. If 7,700 calories were burned during a week, human body would lose about one kilogram. Appling all design and human perception factors, people would be encouraged to exercise more in daily activities. It results that people could increase chance to exercise to reduce weight gain from normal diary.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.386-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectภูมิสถาปัตยกรรมen_US
dc.subjectการออกแบบภูมิทัศน์en_US
dc.subjectการออกแบบสถาปัตยกรรมen_US
dc.subjectLandscape architectureen_US
dc.subjectLandscape designen_US
dc.subjectArchitectural designen_US
dc.titleปัจจัยหลักที่มีผลกระทบต่อการจัดรูปแบบภูมิสถาปัตยกรรมเพื่อกระตุ้นความรู้สึกอยากออกกำลังกายen_US
dc.title.alternativeA study landscape design factors to enhance exercise in normal life styleen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineสถาปัตยกรรมen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorVorasun.b@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.386-
Appears in Collections:Arch - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
patchanok_hi_front.pdf1.77 MBAdobe PDFView/Open
patchanok_hi_ch1.pdf889.04 kBAdobe PDFView/Open
patchanok_hi_ch2.pdf3.62 MBAdobe PDFView/Open
patchanok_hi_ch3.pdf289.48 kBAdobe PDFView/Open
patchanok_hi_ch4.pdf2.81 MBAdobe PDFView/Open
patchanok_hi_ch5.pdf896.76 kBAdobe PDFView/Open
patchanok_hi_back.pdf7.62 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.