Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52535
Title: Interaction between genetic polymorphisms of XRCC1 gene and cigarette smoke exposure as risk for acute lymphoblastic leukemia in Thai children
Other Titles: ความสัมพันธ์ระหว่างพันธุศาสตร์ของยีน XRCC1 กับการสัมผัสควันบุหรี่และความเสี่ยงในการเกิดโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิด acute lymphoblastic leukemia ในเด็กไทย
Authors: Piyanuch Sripayup
Advisors: Issarang Nuchprayoon
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Medicine
Advisor's Email: Issarang.N@Chula.ac.th
Subjects: Leukemia in children
Cancer -- Genetic aspects
มะเร็งเม็ดเลือดขาวในเด็ก
มะเร็ง -- แง่พันธุศาสตร์
Issue Date: 2007
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Polymorphisms of DNA repair genes can alter protein structure and may impair DNA repair capacity. Defects in repairing damaged DNA lead to genetic instability and carcinogenesis. This study was performed to evaluate the effect of the polymorphisms of DNA repair genes on risk of childhood acute lymphoblastic leukemia (ALL), We studied polymorphisms of X-ray repair cross-complimenting group 1 (XRCC1) codon 194 (Arg to Trp), 280 (Arg to His) and 399 (Arg to Gln) and interaction between cigarette smoke and leukemia in 139 children with ALL compared to age and sex matched control. The XRCC1 399 and 194 was associated with a significantly increased risk of ALL whereby codon 399 polymorphism (Odds ratio (OR), A/G OR=3.17, 95% confidence interval (95% CI) =1.42-7.06 and A/A OR=2.94, 95% CI =1.73-5.00) had an increased risk of ALL higher than codon 194 (T/C OR=2.00, 95% CI =1.14-3.53). The haplotype (codon 194-280-399) that were associated with an increased risk of childhood ALL were type D (C-G-A, OR=4.38, 95% CI=2.64-7.33), type E (T-G-A, OR=4.19, 95% CI=1.55-2.44), type F(C-A-G, OR=3.03, 95% CI=1.69-5.48) and type H (T-G-G, OR=2.55, 95% CI=1.42-4.60). In contrast, the distribution of the allele and genotype frequency of XRCC1 codon 280 was not associated with increased risk of ALL. For ALL cases and controls, no significant difference of active and passive exposure was observed between ALL cases and controls.
Other Abstract: มะเร็งเม็ดเลือดขาว (Leukemia) เป็นโรคที่พบมากที่สุดของมะเร็งที่พบในเด็กทั้งในประเทศไทยและทั่วโลก สาเหตุของการเกิดโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวเป็นผลมาจากความผิดปกติของโครโมโซมและการกลายพันธุ์ซึ่งกระบวนการที่สำคัญต่าง ๆ ในการสร้างหรือพัฒนาร่างกาย การเกิดมะเร็งนั้นไม่ได้เกิดจากพันธุกรรมเพียงอย่างเดียวแต่ต้องมีปัจจัยอื่น ๆ จากสิ่งแวดล้อมร่วมด้วยเพื่อที่จะสามารถอธิบายสาเหตุของการเกิดโรคได้ชัดเจนมากขึ้น ดังนั้นในการศึกษาครั้งนี้จึงทำการศึกษาทั้งด้านโพลีมอร์ฟิสมของยีน XRCC1 ร่วมกับปัจจัยทางด้านสิ่งแวดล้อมคือการสัมผัสควันบุหรี่ของมารดาระหว่างตั้งครรภ์ ในคนไข้เด็กที่เป็น ALL จำนวน 139 คน เปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุม 139 คน ที่ทำการจับคู่เพศและอายุ พบว่า ความผิดปกติของยีน XRCC1 ที่ลำดับเบสที่ 194 และ 399 มีความสัมพันธ์กับการเพิ่มความเสี่ยงการเกิดโรค ALL อย่างมีนัยสำคัญ โดยที่ลำดับเบส 399 (Odds ratio (OR), A/G OR=3.17 ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% =1.42-7.06 และ A/A OR=2.94 ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% =1.73-5.00) มีความสัมพันธ์ในการเพิ่มความเสี่ยงสูงกว่าที่ลำดับเบส 194 (T/C OR=2.00 ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% =1.14-3.53) นอกจากนี้ยังพบว่า haplotype (ที่ลำดับเบส 194-280-399) แบบ D (C-G-A, OR=4.38 ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% =2.64-7.33), E (T-G-A, OR=4.19 ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%=1.55-2.44), F (C-A-G, OR=3.03 ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%=1.69-5.48) และ H (T-G-G, OR=2.55 ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%=1.42-4.60) ก็มีความสัมพันธ์กับการเกิด ALL ในทางกลับกันไม่พบว่ามีความสัมพันธ์ของ โพลีมอร์ฟิสมของลำดับเบส 280 กับการเพิ่มความเสี่ยงการเกิด ALL ส่วนปัจจัยทางด้านการสัมผัสควันบุหรี่ของมารดาระหว่างตั้งครรภ์ จากการศึกษาครั้งนี้พบว่ามารดาสูบบุหรี่น้อยมากจึงไม่พบความสัมพันธ์กับการเกิดโรค ALL
Description: Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2007
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Medical Science
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52535
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2007.2177
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2007.2177
Type: Thesis
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
piyanuch_sr_front.pdf1.16 MBAdobe PDFView/Open
piyanuch_sr_ch1.pdf590.64 kBAdobe PDFView/Open
piyanuch_sr_ch2.pdf2.25 MBAdobe PDFView/Open
piyanuch_sr_ch3.pdf958.8 kBAdobe PDFView/Open
piyanuch_sr_ch4.pdf972.58 kBAdobe PDFView/Open
piyanuch_sr_ch5.pdf458.97 kBAdobe PDFView/Open
piyanuch_sr_back.pdf2.52 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.