Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52626
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอิศรา ศานติศาสน์-
dc.contributor.authorนับเนื่อง บุนนาค-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเศรษฐศาสตร์-
dc.date.accessioned2017-03-14T01:12:03Z-
dc.date.available2017-03-14T01:12:03Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52626-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2552en_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ในการศึกษาครั้งนี้ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของโลกาภิวัตน์ในรูปแบบการลงทุนทางตรงจากต่างประเทศและการกระจายรายได้ในประเทศไทยโดยศึกษาในช่วงปี พ.ศ. 2531 ถึง ปี พ.ศ. 2550 เพื่อจะบรรลุวัตถุประสงค์ของการศึกษา จึงได้ทำการหาผลกระทบของความไม่เท่าเทียมกันของรายได้ และความยากจนที่เปลี่ยนแปลงไป ในระหว่างปี พ.ศ. 2531 กับปี พ.ศ. 2541 และปี พ.ศ. 2541 กับปี พ.ศ. 2549 ซึ่งเป็นช่วงที่แสดงถึงสถานการณ์ก่อนและหลังการเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ ปี พ.ศ.2540 การศึกษานี้จะทำการพิจารณาความสัมพันธ์ของการขยายตัวจากกระแสโลกาภิวัตน์ในรูปแบบการลงทุนทางตรงจากต่างประเทศ กับผลิตภาพแรงงาน ค่าจ้างที่แท้จริง และทุน โดยใช้ข้อมูล Panel Data พิจารณาค่าด้วยแบบจำลอง Fixed Effects ใน 6 อุตสาหกรรม ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2531-2550 จากนั้นหาผลกระทบที่ทำให้การกระจายรายได้เปลี่ยนแปลงไปด้วยดัชนี Shorrocks Order 2 วิเคราะห์ความไม่เท่าเทียมกันของรายได้ที่เปลี่ยนแปลงไป โดยวิธีแยกส่วนตามระยะเวลา (Intertemporal Decomposition) และดัชนี Head Count Ratio หาผลกระทบของความยากจนที่เปลี่ยนแปลงไป จากนั้นจึงพิจารณาผลกระทบของการลงทุนทางตรงจากต่างประเทศที่เกิดขึ้นว่าส่งผลทำให้การกระจายรายได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างไร ผลการศึกษา พบว่าการลงทุนทางตรงจากต่างประเทศส่งผลกระทบต่อปัจจัยการผลิตทั้งแรงงานและทุน ผ่านค่าจ้างที่แท้จริงและผลิตภาพแรงงาน โดยทำให้ความไม่เท่าเทียมกันของรายได้ลดลงในช่วงปี พ.ศ. 2541-2549 เนื่องจากการลงทุนทางตรงจากต่างประเทศที่ลดลง ส่งผลกระทบต่อรายได้ของครัวเรือนโดยรวมลดลง โดยเฉพาะครัวเรือนที่มีรายจ่ายสูงทำให้รายได้ลดลงมากที่สุดเป็นเหตุให้ช่องว่างของรายได้ระหว่างคนรวยและคนจนแคบลง แต่ะจากการเปลี่ยนแปลงของการลงทุนทางตรงจากต่างประเทศตลอดช่วงระยะเวลาที่ทำการศึกษา กลับทำให้เกิดความยากจนโดยรวมลดลงน้อยกว่ากรณีที่ไม่มีผลกระทบจากการลงทุนทางตรงจากต่างประเทศ โดยสาเหตุมาจากการใช้ปัจจัยทุนเข้มข้นในการผลิตเพิ่มขึ้น เกิดการจ้างงานลดลง ดังนั้นภาครัฐจึงควรส่งเสริมนโยบายเพื่อขยายโอกาสทางการศึกษาและการฝึกอาชีพต่างๆแก่คนยากจนen_US
dc.description.abstractalternativeThe Objective of this research is to study the relationship between Globalization in form of Foreign Direct Investment and Income distribution in Thailand during 1988-2007. To achieve the objective, This study considers the effect of income inequality and poverty during 1988-1998 and 1998-2006 which represent situations before and after the economic crisis 1997. The relationship of Globalization, Labor Productivity, Real Wage and Capital was tested by Fixed Effects method with panel data in 6 industries during 1988-2007. Then we determine the effect on income inequality by Shorrocks Order 2 Index that analyzed with Intertemporal Decomposition and determine the effect on poverty by Head Count Ratio Index that analyzed with decomposition. Finally, we consider how Foreign Direct Investment (FDI) affects income distribution. The result shows that Globalization in form of FDI affects labor and capital through real wage and labor productivity. Moreover, FDI reduces income inequality during 1998-2006. Because the effect of FDI to the income level of overall household has been decreased, especially in high expenditure households. Hence, during 1998-2006 the income gap between the rich and poor people has been shrunk. On the other hands, the impact on poverty including the effect of FDI has been less decreased than the impact on poverty with no impact from FDI over the study period. The reason is the increasing use of capital intensive factors of production cause employment decline. In policy implication, government should promote policies to expand educational opportunities and professional training for the poor.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.1304-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectโลกาภิวัตน์en_US
dc.subjectการกระจายรายได้ -- ไทยen_US
dc.subjectการลงทุนของต่างประเทศen_US
dc.subjectไทย -- ภาวะเศรษฐกิจen_US
dc.subjectGlobalizationen_US
dc.subjectIncome distribution -- Thailanden_US
dc.subjectInvestments, Foreignen_US
dc.subjectThailand -- Economic conditionsen_US
dc.titleโลกาภิวัฒน์ และการกระจายรายได้ในประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeGlobalization and Income Distribution in Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเศรษฐศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorIsra.S@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.1304-
Appears in Collections:Econ - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
nubnueang_bu_front.pdf1.31 MBAdobe PDFView/Open
nubnueang_bu_ch1.pdf1.16 MBAdobe PDFView/Open
nubnueang_bu_ch2.pdf3.93 MBAdobe PDFView/Open
nubnueang_bu_ch3.pdf1.78 MBAdobe PDFView/Open
nubnueang_bu_ch4.pdf3.62 MBAdobe PDFView/Open
nubnueang_bu_ch5.pdf738.61 kBAdobe PDFView/Open
nubnueang_bu_back.pdf4.06 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.