Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52745
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประนอม รอดคำดี-
dc.contributor.authorจิรารัชต์ โกกนุต-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์-
dc.date.accessioned2017-04-09T06:49:53Z-
dc.date.available2017-04-09T06:49:53Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52745-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการเรียนรู้ผ่านตัวแบบต่อพฤติกรรมการป้องกันอุบัติเหตุของเด็กวัยเรียน โดยใช้ทฤษฎีตัวแบบของ Bandura กลุ่มตัวอย่างคือ เด็กวัยเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสนเขตเทศบาลเมือง จังหวัดชุมพร จำนวน 102 คน โดยใช้วิธีจับสลากกลุ่มเลือกโรงเรียนและห้องเรียนในระดับชั้น และจัดเข้าคู่กัน มีกลุ่มดลองจำนวน 51 คน ได้รับการเรียนรู้ผ่านตัวแบบเกี่ยวกับการป้องกันอุบัติเหตุ ผ่านสื่อวีดิทัศน์ และกลุ่มควบคุมจำนวน 51 คน ซึ่งใช้ชีวิตประจำวันตามปกติ การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 5 ท่าน และความเที่ยงโดยวิธีสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอบนาค เท่ากับ 0.8, 0.73 และ 0.78 ตามลำดับ ข้อมูลที่ได้ทำการวิเคราะห์โดยใช้สถิติทดสอบ ที ผลการวิจัยพบว่า 1. พฤติกรรมการป้องกันอุบัติเหตุของเด็กวัยเรียนกลุ่มทดลองภายหลังที่ได้รับการเรียนรุ้ผ่านตัวแบบสุงกว่าก่อนได้รับการเรียนรู้ผ่านตัวแบบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. พฤติกรรมการป้องกันอุบัติเหตุของเด็กวัยเรียนกลุ่มที่ได้รับการเรียนรู้ผ่านตัวแบบดีกว่ากลุ่มเด็กวัยเรียนที่ปฏิบัติกิจวัตรประจำวันตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this quasi-experimental research was to study the effect of learning by modeling on accident preventive behaviors of school age. Modeling theory of Bandura was used to guide the study. The study samples were composed of 102 school age children assigned to an experimental and a control group by matched pair technique. The experimental group were 51 children received learning by modeling and the control group were 51 children living in normal life. The Questionnaire were tested for content validity and reliability which has Cronbach’alpha value of 0.8, 0.73 and 0.78 respectively. Data were analyzed by mean, standard deviation, and t-test statistic. Major findings were as follows: 1. The accident preventive behaviors of the experimental group after receiving the accident preventive behaviors through learning by modeling was significantly higher than before, at the0.5 level. 2. The accident preventive behavior of the experimental group after receiving the accident preventive behaviors through learning by modeling was significantly better than that the control group, at the .05 level.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.844-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectอุบัติเหตุ -- การป้องกันen_US
dc.subjectนักเรียนen_US
dc.subjectAccidents -- Preventionen_US
dc.subjectStudentsen_US
dc.titleผลของการเรียนรู้ผ่านตัวแบบต่อพฤติกรรมการป้องกันอุบัติเหตุของเด็กวัยเรียนen_US
dc.title.alternativeThe Effect of learning by modeling on accident preventive behaviors of school age childrenen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineพยาบาลศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.844-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
chirarat_ko_front.pdf529.15 kBAdobe PDFView/Open
chirarat_ko_ch1.pdf777.45 kBAdobe PDFView/Open
chirarat_ko_ch2.pdf3.1 MBAdobe PDFView/Open
chirarat_ko_ch3.pdf1.31 MBAdobe PDFView/Open
chirarat_ko_ch4.pdf682.21 kBAdobe PDFView/Open
chirarat_ko_ch5.pdf870.75 kBAdobe PDFView/Open
chirarat_ko_back.pdf2.74 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.