Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52775
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอาณัติ เรืองรัศมี-
dc.contributor.authorพชร เครือวิทย์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2017-04-22T09:14:33Z-
dc.date.available2017-04-22T09:14:33Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52775-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556en_US
dc.description.abstractการก่อสร้างโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กจำเป็นต้องมีการต่อทาบเหล็กเสริมอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ การใช้ข้อต่อเชิงกลในการต่อทาบเหล็กเสริมเป็นทางหนึ่งที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย แต่ยังมิได้มีการศึกษาคุณสมบัติของข้อต่อเชิงกลที่เพียงพอ โดยเฉพาะภายใต้แรงกระทำแบบวัฎจักรในเสาคอนกรีตเสริมเหล็ก งานวิจัยนี้ได้ทำการพฤติกรรมสาคอนกรีตเสริมเหล็กที่มีการต่อทาบด้วยข้อต่อเชิงกลภายใต้แรงกระทำแบบวัฏจักรจำนวน2 ตัวอย่างซึ่งมีขนาดหน้าตัด 0.40 เมตร x 0.40 เมตร สูง 2.2 เมตรโดยเปรียบเทียบระหว่างตัวอย่างที่มีการต่อทาบเหล็กเสริมแบบปกติ และมีการต่อทาบด้วยข้อต่อเชิงกล ซึ่งทั้ง 2 ตัวอย่างมีอัตราส่วนเหล็กเสริมตามยาวเท่ากับ 0.0245 และมีอัตราส่วนปริมาตรของเหบ็กเสริมตามขวางเท่ากับ 0.00753 ซึ่งจากผลการทดสอบเหล็กเสริมที่มีการต่อทาบด้วยข้อต่อเชิงกลภายใต้แรงอัดตามแนวแกนพบว่าเหล็กเสริมที่มีการต่อทาบด้วยข้อต่อเชิงกลสามารถชะลอการโก่งเดาะได้ดีขึ้นรวมถึงสามารถสลายพลังได้สูงกว่าเหล็กเสริมที่ไม่มีการต่อทาบ จากการทดสอบเสาคอนกรีตเสริมเหล็กภายใต้แรงกระทำด้านข้างแบบวัฏจักรพบว่า ตัวอย่างเสาที่มีการต่อทาบด้วยข้อต่อเชิงกลมีความสามารถรับแรงกระทำทางด้านข้างได้สูงกว่าตัวอย่างเสาที่มีการต่อทาบเหล็กเสริมแบบปกติ ซึ่งเมื่อเสาเกิดความเสียหายหลังจากรับแรงกระทำสูงสุดแล้วยังคงมีพฤติกรรมในการรับแรงที่ลดลงช้ากว่าเช่นเดียวกัน โดยตัวอย่างเสาที่มีการต่อทาบด้วยข้อต่อเชิงกลมีความเหนียวมากกว่าถึง 2.76 เท่า ของตัวอย่างเสาที่มีการต่อทาบเหล็กเสริมแบบปกติ และมีความสามารถสลายพลังงานสะสมได้สูงกว่าอย่างชัดเจนen_US
dc.description.abstractalternativeConstruction practices in the building of reinforced concrete members have the reinforcement of members were inevitable spliced. The mechanical splices can be used to replace the conventional lapped steel reinforcement. However, previous studies on the structural behavior of reinforced concrete columns using mechanical splice under cyclic loading are still limited. This research has to study the behavior of reinforced concrete column with mechanical splice and lap splice are conducted. The cross section of column is 0.4m x 0.4m, and columns height is 2.2m. The ratio of cross section of column is 0.0245, and the volumetric ratio of transverse reinforcement is 0.00753. From the monotonic loading test, it is found that the longitudinal reinforcement with mechanical splice significantly improve the buckling behavior. Energy dissipation of the longitudinal reinforcement with mechanical splice is higher than the bare bar. Then, cyclic loading tests of two reinforced concrete The column with mechanical splice and lap splice, it is found that the maximum lateral load of column with mechanical splice more than the column with lap splice include the few of strength degradation. The ductility enhancement about 2.76 times, comparing to the column with lap splice cause the increase of energy dissipation.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.1806-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectคอนกรีตเสริมเหล็กen_US
dc.subjectเสาคอนกรีตen_US
dc.subjectReinforced concreteen_US
dc.subjectColumns, Concreteen_US
dc.titleพฤติกรรมแบบวัฏจักรของเสาคอนกรีตเสริมเหล็กที่มีการต่อทาบ ด้วยข้อต่อเชิงกลen_US
dc.title.alternativeCyclic behavior of reinforced concrete columns with mechanical splicesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมโยธาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorAnat.R@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.1806-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
pochara_kr.pdf10.43 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.