Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52797
Title: Rangoon as a foreign city on burmese soil 1852-1942
Other Titles: ย่างกุ้ง ในฐานะเมืองต่างชาติบนแผ่นดินพม่า 1852-1942
Authors: Duncan, Simon Nicholas
Advisors: Sunait Chutintaranond
Other author: Chulalongkorn University. Graduate School
Advisor's Email: Sunait.C@Chula.ac.th
Subjects: Urbanization -- Burma
Cities and towns -- Burma -- Growth
Migrant labor -- Burma
Burma -- History
การเกิดเป็นเมือง -- พม่า
เมือง -- พม่า -- การเจริญเติบโต
การย้ายถิ่นของแรงงาน -- พม่า
พม่า -- ประวัติศาสตร์
Issue Date: 2013
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: “Rangoon was a foreign city erected on Burmese soil”. This is how Burmese historian Michael Charney describes Rangoon during the colonial period in his book ‘A History of Modern Burma’. This paper was written to explore how and why Rangoon grew so rapidly in the colonial period of 1852 to 1942 into a prosperous modern, cosmopolitan city as part of British India and what problems that caused. The population grew massively during the time largely due to immigration. The immigration was mainly from India and China but also from elsewhere in Asia and the West, mainly from Britain. Large scale immigration was required as the port city grew quickly due to the large volume of exports, chiefly rice, teak and oil which required the city to be connected to the hinterland. The immigrants did both skilled and unskilled labor. Indians were favored by the British administration as they could communicate with each other, had a higher level of education than the Burmese at the time and were able to do jobs the locals could not. Rangoon became, in simple terms, an extension of British India. This was not the first time that Burma or even Rangoon had hosted immigrants, however during this period the Burmese quickly became the minority in the biggest city in their country. This was an unusual situation that caused a number of problems, including but not limited to racial tension and international crime which required a larger police force made up primarily of Indians and British. Rangoon in this period became a foreign city not just in terms of its population of immigrants but also because of its buildings and the new society that was created. The city once a small pilgrimage town famous for the Shwe Dagon pagoda became much larger and full of churches, mosques and Hindu temples and huge buildings associated with commerce. When the new immigrant population relaxed after work they indulged in forms of entertainment such as drinking alcohol or watching horse racing that were either against Buddhist Burmese culture or simply new and alien ideas.
Other Abstract: “ย่างกุ้ง คือเมืองนานาชาติที่ถูกสร้างขึ้นบนผืนแผ่นดินพม่า” ประโยคประทับใจจากหนังสือ ประวัติศาสตร์พม่าสมัยใหม่ จากปลายปากกาของไมเคิล คารนีย์ นักประวัติศาสตร์ชาวพม่าที่บรรยาย ‘บรรยากาศของย่างกุ้งในยุคอาณานิคม’ วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ มีจุดมุ่งหมาย เพื่อวิเคราะห์และวินิจฉัย สาเหตุ ความเป็นมา และพัฒนาการของเมืองย่างกุ้งซึ่งในขณะนั้นเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิอินเดียของบริเตน เติบโตอย่างรวดเร็วและรุ่งเรือง มากด้วยคนหลากหลายเชื้อชาติ ในช่วงยุคอาณานิคม พ.ศ.2395-2485 รวมถึงปัญหาที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาดังกล่าว การเข้ามาของผู้คนในเมืองย่างกุ้ง ทำให้จำนวนประชากรเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ทั้งชาวจีน ชาวอินเดีย ผู้คนจากทั้งในเอเชีย รวมถึงชาวตะวันตกโดยเฉพาะอย่างยิ่งชาวอังกฤษ สาเหตุดังกล่าวกระตุ้นปริมาณการส่งออก โดยเฉพาะ การส่งออกข้าว ไม้สัก และน้ำมันไปยังพื้นที่ต่างๆ แรงงานที่มีทักษะฝีมือและมีการศึกษา เช่น ชาวอินเดีย จะขึ้นกับการบริหารงานของคนอังกฤษ ทำงานในส่วนที่แรงงานท้องถิ่นชาวพม่าไม่สามารถทำได้ย่างกุ้งในยุคอาณานิคมถือเป็นช่วงเวลาการขยายตัวของบริติชอินเดีย ชาวพม่ากลายเป็นเพียงส่วนหนึ่งของประเทศจากการอพยพเข้ามาของผู้คนจำนวนมาก แม้ว่าปรากฏการณ์ลักษณะดังกล่าวเคยเกิดขึ้นกับพม่าในอดีต ความหลากหลายของผู้คนที่อพยพเข้ามาในย่างกุ้ง ช่วงยุคอาณานิคมนี้ก่อให้เกิดความขัดแย้งทางเชื้อชาติและนำไปสู่การก่ออาชญากรรม ซึ่งเกี่ยวข้องโดยตรงกับความรับผิดชอบหลักของเจ้าหน้าที่ตำรวจชาวอินเดีย และชาวอังกฤษ ย่างกุ้งในยุคอาณานิคมกลายเป็นเมืองท่านานาชาติที่ถูกสร้างขึ้นโดยผู้คนที่หลั่งไหลเข้ามา จากเมืองเล็กๆ ในอดีต มีเพียงแค่เจดีย์ชเวดากอง ซึ่งเป็นสถานที่สำคัญของผู้จาริกแสวงบุญ กลายเป็นเมืองที่เต็มไปด้วยโบสถ์ มัสยิด ศาสนสถานของชาวฮินดู ตึกรามบ้านช่องที่ใหญ่โต รวมถึงสภาวะเศรษฐกิจที่เฟื่องฟูในขณะนั้น แม้ว่าในบางครั้ง การผ่อนคลายและกิจกรรมบันเทิงหลังจากการทำงาน เช่น การดื่มแอลกอฮอล์ หรือการชมม้าแข่ง จะขัดกับวัฒนธรรมและศีลธรรมตามหลักศาสนาของชาวพม่า แต่ปรากฏการณ์ดังกล่าว ถือเป็นสิ่งที่ ‘ ใหม่ ’ ของผู้คนในเวลานั้น
Description: Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2013
Degree Name: Master of Arts
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Southeast Asian Studies (Inter-Department)
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52797
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2013.1822
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2013.1822
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
simon-nicholas_du.pdf1.32 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.