Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52985
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุรเดช โชติอุดมพันธ์ | - |
dc.contributor.advisor | จาตุรี ติงศภัทิย์ | - |
dc.contributor.author | อภิสรา แสงหัตถวัฒนา | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2017-06-18T12:05:41Z | - |
dc.date.available | 2017-06-18T12:05:41Z | - |
dc.date.issued | 2550 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52985 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 | en_US |
dc.description.abstract | วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยทางการเมือง สังคม และเพศสถานะที่มีอิทธิพลต่อการสร้างเรื่องเล่าในนวนิยายเรื่อง เดอะ เมมัวรส์ ออฟ อะ เซอร์ไวเวอร์ ของ ดอริส เลสซิง และเดอะ เฮาส์ ออฟ เดอะ สปิริตส์ ของ อิซาเบล อัลเยนเด รวมทั้งศึกษารูปแบบการเล่าเรื่องในนวนิยายทั้งสองเรื่อง และวิเคราะห์บทบาทของเรื่องเล่าในฐานะที่เป็นการต่อรอง การเรียนรู้ และการเยียวยาจากการครอบงำของอำนาจวัฒนธรรมกระแสหลัก และนำมาสู่การสร้างอัตลักษณ์ผ่านทางเรื่องเล่า จากการศึกษาวิเคราะห์นวนิยายทั้งสองเรื่อง สรุปได้ว่า การพลัดถิ่นทั้งทางร่างกายและจิตใจเป็นปัจจัยสำคัญในการสร้างเรื่องเล่า และมีผลต่อรูปแบบของเรื่องเล่า นอกจากนี้เรื่องเล่ายังมีบทบาทช่วยต่อรองกับวาทกรรมกระแสหลัก ทำให้เกิดการเรียนรู้ที่จะอยู่ท่ามกลางความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรม เรื่องเล่าสามารถช่วยเยียวยาบาดแผลทางใจทั้งที่เกิดจากปัจจัยภายนอกและปัจจัยภายใน และเรื่องเล่ายังถูกใช้เพื่อประกอบสร้างอัตลักษณ์คนพลัดถิ่น ผลการวิจัยเปรียบเทียบนวนิยายทั้งสองเรื่องพบว่าถึงแม้นวนิยายทั้งคู่จะใช้ลักษณะการประพันธ์แบบนวนิยายเชิงอัตชีวประวัติเหมือนกัน และใช้เพื่อต่อรองกับวาทกรรมกระแสหลักเช่นเดียวกัน แต่ด้วยลักษณะการพลัดถิ่นที่ส่งผลกระทบต่อตัวผู้เขียนแตกต่างกันทำให้รูปแบบเรื่องเล่านั้นแตกต่างกัน ในขณะที่เรื่องเล่าของบ้านใน เดอะ เฮาส์ ออฟ เดอะ สปิริตส์ ถูกใช้เพื่อรื้อฟื้นรากเหง้าและเยียวยาบาดแผลทางใจที่เกิดจากการเมือง แต่เรื่องเล่าของบ้านและแม่ใน เดอะ เมมัวรส์ ออฟ อะ เซอร์ไวเวอร์ กลับเป็นเรื่องที่ต้องถูกเยียวยาเพราะเป็นปมปัญหาของผู้เล่า อย่างไรก็ดี นวนิยายทั้งสองเรื่องต่างก็นำเสนอการประกอบสร้างอัตลักษณ์ผ่านทางเรื่องเล่าเหมือนกัน | en_US |
dc.description.abstractalternative | This thesis aims to study political, social and gender factors influencing the narrative construction of The Memoirs of a Survivor by Doris Lessing and The House of the Spirits by Isabel Allende. Focusing on their narrative patterns, the research shows that these novels perform the roles of negotiation with and healing from the oppressive dominance of the influence of mainstream culture. The analysis of these two novels reveals that the physical and mental diasporas, affecting these narrative patterns, are key factors in narrative construction. These narratives, as a device in negotiating with mainstream discourses, become the strategy whereby the writers seek to live amid cultural diversity. Through such narrative fabrication, traumatic experiences generating from internal and external factors can be healed since the narrative process is used to construct the identity of diasporic people. By comparing these two autobiographical novels, the research demonstrates that, although both Lessing and Allende use autobiographical and novelistic elements to negotiate with mainstream discourses, their narrative patterns are different due to their different diasporic conditions. In The House of the Spirits, the narrative is used to reconstruct the root and to remedy traumatic memory resulting from the violence of Chilean politics. The narrative relating household conditions and maternity in The Memoirs of a Survivor, by contrast, emphasizes the writer's need of remedy for the trauma stemming from a problematic mother-daughter relationship. Despite such differences in diasporic condition, these novels share the same concern of presenting the process of remedy and the construction of identity through their narrative patterns. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2007.506 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | เลสซิง, ดอริส. เดอะ เมมัวรส์ ออฟ อะ เซอร์ไวเวอร -- การวิจารณ์และการตีความ | en_US |
dc.subject | อัลเยนเด, อิซาเบล. เดอะ เฮาส์ ออฟ เดอะ สปิริตส์ -- การวิจารณ์และการตีความ | en_US |
dc.subject | นวนิยายอัตตชีวประวัติ | en_US |
dc.subject | คนพลัดถิ่น | en_US |
dc.subject | Lessing, Doris. The Memoirs of a Survivor -- Criticism and interpretation | en_US |
dc.subject | Allende, Isabel. The House of the Spirits -- Criticism and interpretation | en_US |
dc.subject | Autobiographical fiction | en_US |
dc.subject | Diaspora | en_US |
dc.title | การสร้างเรื่องเล่าในนวนิยายเชิงอัตชีวประวัติของนักเขียนสตรีพลัดถิ่น : การศึกษาเปรียบเทียบ เดอะ เมมัวรส์ ออฟ อะ เซอร์ไวเวอร์ กับ เดอะ เฮาส์ ออฟ เดอะ สปิริตส์ | en_US |
dc.title.alternative | Narrative construction in autobiographical novels by displaced women writers : a comparative study of The Memoirs of a Survivor and The House of the Spirits | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | อักษรศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | วรรณคดีเปรียบเทียบ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Suradech.C@Chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | Charturee.T@Chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2007.506 | - |
Appears in Collections: | Arts - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
apissara_sa_front.pdf | 1.11 MB | Adobe PDF | View/Open | |
apissara_sa_ch1.pdf | 592.23 kB | Adobe PDF | View/Open | |
apissara_sa_ch2.pdf | 3.46 MB | Adobe PDF | View/Open | |
apissara_sa_ch3.pdf | 5.24 MB | Adobe PDF | View/Open | |
apissara_sa_ch4.pdf | 4.3 MB | Adobe PDF | View/Open | |
apissara_sa_ch5.pdf | 611.88 kB | Adobe PDF | View/Open | |
apissara_sa_back.pdf | 906.3 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.