Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53004
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวีระพงษ์ บุญโญภาส-
dc.contributor.authorต่อศักดิ์ สวัสดีมงคล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์-
dc.date.accessioned2017-06-19T11:25:05Z-
dc.date.available2017-06-19T11:25:05Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53004-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีความมุ่งหมายในการศึกษาวิเคราะห์ความผิดมูลฐานเกี่ยวกับการเลือกตั้งในกฎหมายป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน ที่บัญญัติในพระราชบัญญัติประกอบ รัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและการได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ.2550 เพื่อนำมาตรการของกฎหมายป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินมาใช้บังคับ ว่ามี ประสิทธิภาพเพียงพอและบรรลุผลสำเร็จแล้วหรือไม่ ผลของการศึกษาพบว่า การกำหนดให้การทุจริตการเลือกตั้งเป็นความผิดมูลฐานตาม กฎหมายป้องกันและปราบปราบการฟอกเงินนั้น ยังมีข้อบกพร่องและไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอ เนื่องจากยังไม่ครอบคลุมการเลือกตั้งในทุกระดับ และการนำมาตรการยึดทรัพย์สินทางแพ่งดำเนินการกับเงินหรือทรัพย์สินที่ใช้กระทำความผิดยังมีข้อจำกัด ทำให้ไม่สามารถบรรลุผลสำเร็จในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้ ผู้เขียนจึงเสนอให้มี การกำหนดให้การแก้ไขปัญหาทุจริตการเลือกตั้ง เป็นนโยบายของรัฐหรือนโยบายแห่งชาติ และมีกฎหมายพิเศษเฉพาะมาบังคับใช้ คือ พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 โดยกำหนดให้ความผิดเกี่ยวกับการทุจริต เป็นความผิด มูลฐาน เพื่อให้ครอบคลุมและทั่วถึงการเลือกตั้งในทุกระดับ และนำมาตรการทางกฎหมายมาใช้ เนื่องจากมีบทลงโทษทางอาญาที่รุนแรงพอสมควร และข้อสำคัญคือ มีมาตรการยึดทรัพย์สินทางแพ่งที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งจะทำให้ลดจำนวนผู้กระทำความผิดและสกัดกั้นเงินหรือทรัพย์สินที่จะใช้ในการกระทำความผิด นอกจากนี้ควรมีหน่วยงานบังคับใช้กฎหมายโดยเฉพาะ เพื่อฝึกอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการเลือกตั้งที่สุจริตและเที่ยงธรรม และมีการติดตามประเมินผลและแนวทางแก้ไข เพื่อให้การบังคับใช้กฎหมายเป็นไปอย่างสมบูรณ์และมีประสิทธิภาพen_US
dc.description.abstractalternativeThis dissertation was aim to examine the predicate offense relating to the elections in the Anti - Money Laundering Control Law under Organic Law on election of members of the House of Representatives and selection of members of the Senate B.E. 2550. The author tried to analyze whether the anti-money laundering measure could be used in this case efficiently and effectively. Following the study, the sole basis of classify the election fraud in the predicate offense is not sufficient and inefficiency. Due to the elections can be divided into many levels, the anti-money laundering measures, especially the civil forfeiture measure , have many limitations. Thus, the use of these measures alone cannot solve the election fraud problems. Therefore, the author proposes that the election fraud should become the national policy and enforce under the specific law as “the Anti-Money Laundering Control Act B.E. 2542”. Beside, it recommends that this offence should classify into one of the predicate offence in order to cover all level election and because of its sanction. Moreover, it should have the special organ to educate about the just election, watch the assessment and enforce the law effectively and efficiently.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.358-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการเลือกตั้ง -- การฟอกเงิน -- ความผิดทางอาญาen_US
dc.subjectการเลือกตั้ง -- ยึดทรัพย์ -- ความผิดทางแพ่งen_US
dc.subjectการเลือกตั้ง -- การทุจริตและประพฤติมิชอบทางการเมืองen_US
dc.subjectพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกงเงิน พ.ศ. 2542en_US
dc.subjectพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและการได้มาซึ่งสมาชิกวุติสภา พ.ศ. 2550en_US
dc.titleการวิเคราะห์ความผิดมูลฐานเกี่ยวกับการเลือกตั้งในกฎหมายป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินen_US
dc.title.alternativeAnalysis of the predicate offense relating to elections law under the anti-money laundering control lawen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorvboonyobhas@hotmail.com-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.358-
Appears in Collections:Law - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
torsak_sa_front.pdf1.19 MBAdobe PDFView/Open
torsak_sa_ch1.pdf711.45 kBAdobe PDFView/Open
torsak_sa_ch2.pdf5.53 MBAdobe PDFView/Open
torsak_sa_ch3.pdf6.17 MBAdobe PDFView/Open
torsak_sa_ch4.pdf3.45 MBAdobe PDFView/Open
torsak_sa_ch5.pdf1.05 MBAdobe PDFView/Open
torsak_sa_back.pdf644.17 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.