Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53040
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุทธิพันธ์ จิราธิวัฒน์-
dc.contributor.authorระดม พบประเสริฐ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเศรษฐศาสตร์-
dc.date.accessioned2017-06-21T14:20:05Z-
dc.date.available2017-06-21T14:20:05Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.isbn9741420439-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53040-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en_US
dc.description.abstractการศึกษาเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ศึกษาวิเคราะห์วิวัฒนาการของวัฒนธรรมการกินอาหารไทยที่เปลี่ยนแปลงภายใต้อิทธิพลของรัฐที่มีผลต่อความเป็นอยู่ของประชาชน โดยใช้ทฤษฎีเรื่องรัฐและแนวคิดโลกาภิวัตน์ทางเศรษฐกิจเป็นเครื่องมือในการวิเคราะห์ตามลำดับการศึกษามีขอบเขตตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน โดยแบ่งเป็นการศึกษาช่วงที่หนึ่งตั้งแต่อดีตจนถึงช่วงก่อนการปกครองของรัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงคราม ช่วงที่สองตั้งแต่หลังการปกครองโดยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม จนถึงปัจจุบัน ผลการศึกษาพบว่าในช่วงที่หนึ่งบทบาทของรัฐต่อเรื่องวัฒนธรรมอาหารการกินนั้น รัฐไม่ได้ให้ความใส่ใจการกินอยู่ของผู้ใต้ปกครองในด้านโภชนาการ แต่ใช้กลไกอุดมการณ์เป็นเครื่องมือในการปลูกฝังครอบงำความคิดความเชื่อเกี่ยวกับการกิน ซึ่งเกี่ยวเนื่องกับความสัมพันธ์ทางการผลิตของสังคมไทย ที่รัฐมีจุดมุ่งหมายเพื่อรักษาไว้ให้มั่นคง ส่วนช่วงที่สอง เมื่อรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามขึ้นมามีอำนาจได้หันมาใส่ใจในเรื่องการกินอยู่ของผู้ใต้ปกครองเนื่องจากรัฐได้ใช้วัฒนธรรมการกินเป็นเครื่องแสดงความเจริญของรัฐชาติ ที่ต้องการให้ทัดเทียมกับนานาประเทศ การสร้างสังคมที่เจริญมีวัฒนธรรมการกินอยู่ที่ดี จึงเป็นภาระหน้าที่ใหม่ที่ของรัฐ แต่หลังรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ประเทศไทยได้เปิดรับระบบทุนนิยมเข้ามา ซึ่งเกิดขึ้นในรัฐบาลจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ทำให้ระบบการผลิตจากเดิมที่เป็นแบบ ผลิติเลี้ยงชีพ(Self-Sufficient Economy)เปลี่ยนเป็นการผลิตเพื่อตลาด(Market Economy) เป็นการเปิดรับกระบวนการโลกาภิวัตน์ ซึ่งส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมทำให้เกิดวัฒนธรรมใหม่ที่ผสมผสาน หรือบูรณาการของวัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมสากล ขณะเดียวกันก็เกิดแรงสะท้อนกลับจากวัฒนธรรมท้องถิ่นที่เข้าสู่กระบวนการโลกาภิวัตน์และส่งผลต่อวัฒนธรรมท้องถิ่นอื่นๆen_US
dc.description.abstractalternativeThe objective of this study is to analyze a history of the Thai eating culture, which has been altered under the state influence with effects on the well being of the Thai people. The study employs the theory of the state and concept of the economic globalization as the main analytical framework,and the period of this study is divided into two periods. The first period is focused on the period prior to the Field Marshal Plaek Pibulsonggram's government, and the second period transfixes its attention on the period after the-Field Marshal Plaek Pibulsonggarm's government up until now. The study finds that, in the first period, the role of the state toward the Thai eating culture did not pay much attention to the issue of nutrition .Instead, the state had employed the ideological state apparatus as the main instrument in dominating the supposed notion of the proper eating culture , which was related to the social relations of production in the Thai society and the security of the state. In the second period, after the Field Marshal Plaek Pibulsonggram had come to power, the state turned its attention and regarded the issue of eating culture as an indicator of the development level of the nation in comparison to other countries. However, after the government ot the Field Marshal Plaek Pibulsonggram, Thailand has embraced capitalism, as championed by the government of the Field Marshal Sarit Dhanarajata, which changes the structure of the economy from subsistence to market economy and subsistence to market economy and subsequently opened up to the globalization process. The effect of such change results in a newly integrated culture between Thai and global culture. At the same time, such domestic culture counter-responds to globalization and affects other domestic cultures.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.236-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectอาหารไทยen_US
dc.subjectการเมืองกับวัฒนธรรมen_US
dc.subjectวัฒนธรรมกับโลกาภิวัตน์en_US
dc.subjectThai fooden_US
dc.subjectPolitics and cultureen_US
dc.subjectCulture and globalizationen_US
dc.titleประวัติศาสตร์วัฒนธรรมการกินอาหารไทยen_US
dc.title.alternativeA history of Thai eating cultureen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเศรษฐศาสตร์การเมืองen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.authorSuthiphand.C@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.236-
Appears in Collections:Econ - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
radom_ph_front.pdf903.47 kBAdobe PDFView/Open
radom_ph_ch1.pdf659.6 kBAdobe PDFView/Open
radom_ph_ch2.pdf988.86 kBAdobe PDFView/Open
radom_ph_ch3.pdf5.16 MBAdobe PDFView/Open
radom_ph_ch4.pdf4.14 MBAdobe PDFView/Open
radom_ph_ch5.pdf961.8 kBAdobe PDFView/Open
radom_ph_back.pdf1.78 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.