Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53076
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวีระพงษ์ บุญโญภาส-
dc.contributor.authorธีระพันธ์ เมฆเกรียงไกร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์-
dc.date.accessioned2017-06-22T09:20:06Z-
dc.date.available2017-06-22T09:20:06Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53076-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en_US
dc.description.abstractพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 ได้สร้างมาตรการสำคัญในการติดตามเส้นทางการฟอกเงิน โดยผ่านกระบวนการ การรายงาน การบันทึกข้อเท็จจริง และการแสดงตน โดยได้กำหนดกับสถาบันการเงินต้องรายงานธุรกรรมที่เป็นไปตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้ในกฎกระทรวง แก่สำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน ผลการวิจัยพบว่า พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 มาตรา 13 ได้บัญญัติให้ สถาบันการเงินมีหน้าที่ต้องรายงานการทำธุรกรรม ในบรรดาธุรกรรมที่ต้องรายงานทั้ง 3 ประเภท ธุรกรรมที่มีเหตุอันควรสงสัยเป็นธุรกรรมที่มีความยากลำบากในการวิเคราะห์มากที่สุด เนื่องจากผู้กระทำความผิดพยายามหาช่องทางเพื่อหลีกเลี่ยงไม่ให้สถาบันการเงินต้องรายงานธุรกรรมดังกล่าวตามที่กฎหมายได้กำหนดไว้ ดังนั้นรูปแบบของการฟอกเงินจากธุรกรรมที่มีเหตุอันควรสงสัย จึงมีการเปลี่ยนแปลงได้อย่างไม่หยุดยั้ง การศึกษารูปแบบของการฟอกเงินจากธุรกรรมที่มีเหตุอันควรสงสัยที่สถาบันการเงินรายงานมายังสำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พบว่า รูปแบบและลักษณะของการฟอกเงิน มักจะเกี่ยวข้องกับการฝากเงิน การโอนเงิน การถอนเงิน และการใช้เช็ค และยังพบว่า แนวโน้มรูปแบบของการฟอกเงินในประเทศไทยมีลักษณะดังนี้ 1. ผู้ฟอกเงินมีพฤติกรรมหลีกเลี่ยงการรายงานธุรกรรมที่มีเหตุอันควรสงสัยเพิ่มมากขึ้น 2. ลักษณะของการเคลื่อนไหวทางบัญชีผิดปกติมากขึ้น 3. มีการทำธุรกรรมที่ซับซ้อนมากขึ้น 4. มีการฟอกเงินโดยไม่ใช้เงินสดเกิดขึ้น 5. มีการฟอกเงินโดยอาศัยธุรกิจบังหน้ามากขึ้น 6. มีแนวโน้มของการฟอกเงินอาจกระทำในลักษณะอาชญากรรมข้ามชาติ และ 7. มีแนวโน้มการฟอกเงินในรูปแบบอื่น ๆ วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ได้ วิเคราะห์รูปแบบของการฟอกเงิน และแนวโน้มรูปแบบของการฟอกเงินที่เกิดขึ้น หรือจะเกิดขึ้นในประเทศไทย เพื่อเป็นแนวทางในการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินซึ่งอาจมีรูปแบบต่างๆ ที่เกิดขึ้น จึงเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งอันจะนำไปสู่การบังคับใช้กฎหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไปen_US
dc.description.abstractalternativeThe Anti-Money Laundering Act, B.E. 2542 (1999) has created important measures in follow up on money laundering route through the process of reporting fact record and showing up by imposing that every financial institution must report on transactions under the conditions stipulated by the Ministerial Regulation to the Anti-Money Laundering Office. The research results have come up that in the Anti-Money Laundering Act, B.E. 2542 Section 13, has stipulated every financial institution to have the duty in reporting on its transaction in all three kinds of money transaction. Among these the doubtful transaction of financial institution is the most complicated issue in its analysis, due to the fact that most wrongdoers would try hard to prevent financial institutions reporting such transactions as stipulated in the law. Therefore, the form of laundering by doubtful transaction can be changed without any stopping. The study on the form of laundering through doubtful transaction as reported by financial institution at the Anti-Money Laundering Office finds that a number of forms and nature in laundering have bee relevant to depositing of money, drawing and transfer and use of cheques and it also finds following trends in laundering methods in Thailand as follow: 1. The launderers have increasingly been in avoiding of any report on doubtful transactions; 2. More abnormal movement in accounts; 3. Having more complicated transactions; 4. Using of more cash in laundering process; 5. Using of more over business; 6. Having trend in laundering in multinational crime; and 7. Having trend in other forms of laundering. This thesis has analyzed the forms of laundering and trends in its actual laundering process or shall be happened in Thailand to be a guideline in the prevention and suppression on money laundering that may come out in several forms, as it is vital to apply it into the enforcement of the law effectively.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.316-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเงินตรา -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับen_US
dc.subjectสถาบันการเงิน -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับen_US
dc.subjectการฟอกเงิน -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับen_US
dc.subjectอาชญากรรมข้ามชาติen_US
dc.subjectMoney -- Law and legislationen_US
dc.subjectFinancial institutions -- Law and legislationen_US
dc.subjectMoney Laundering -- Law and legislationen_US
dc.subjectTransnational Crimeen_US
dc.titleการวินิจฉัย "ธุรกรรมที่มีเหตุอันควรสงสัยของสถาบันการเงิน" เพื่อกำหนดรูปแบบของการฟอกเงินen_US
dc.title.alternativeAnalysis the suspicious transaction of financial institute to impose the type of money launderingen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorViraphong.B@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.316-
Appears in Collections:Law - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
teerapan_me_front.pdf1.42 MBAdobe PDFView/Open
teerapan_me_ch1.pdf741.66 kBAdobe PDFView/Open
teerapan_me_ch2.pdf5.11 MBAdobe PDFView/Open
teerapan_me_ch3.pdf2.53 MBAdobe PDFView/Open
teerapan_me_ch4.pdf3.85 MBAdobe PDFView/Open
teerapan_me_ch5.pdf4.7 MBAdobe PDFView/Open
teerapan_me_ch6.pdf1.28 MBAdobe PDFView/Open
teerapan_me_back.pdf539.86 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.