Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53092
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorไพศาล กิตติศุภกร-
dc.contributor.authorวิบูลย์ ฤทธิ์ทองพิทักษ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2017-06-22T15:01:37Z-
dc.date.available2017-06-22T15:01:37Z-
dc.date.issued2006-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53092-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการทดลองหาปริมาณเฟอริกคลอไรด์และพอลิเมอร์ที่เหมาะสมในการบำบัดน้ำเสียที่เกิดจากการล้างทำความสะอาดในกระบวนการผลิตด้วยกระบวนการโคแอกกูเลชัน เพื่อให้น้ำเสียภายหลังการบำบัดมีค่าความขุ่นน้อยกว่า 50 เอ็นทียู จากนั้นนำน้ำเสียที่ผ่านกระบวนการบำบัดมาผ่านถังกรอง (Multimedia filter) ผ่านไส้กรองคาร์ทริดจ์ (Cartridge filter) และผ่านระบบรีเวอร์สออสโมซิส ทำการวิเคราะห์คุณภาพน้ำเสียภายหลังผ่านระบบรีเวอร์สออสโมซิส นำผลวิเคราะห์คุณภาพน้ำที่ได้มาคำนวณหาสัดส่วนการผสมที่เหมาะสมระหว่างน้ำดิบและน้ำเสียที่ผ่านการบำบัดเพื่อนำน้ำภายหลังการผสมมาใช้เป็นน้ำเติมในหอระบายความร้อน ผลการทดลองในการหาปริมาณเฟอริกคลอไรด์และพอลิเมอร์พบว่า ปริมาณเฟอริกคลอไรด์ที่ใช้ในการบำบัดแปรผันตามค่าการนำไฟฟ้าของน้ำเสีย โดยสามารถแบ่งช่วงค่าการนำไฟฟ้าของน้ำเสียและปริมาณเฟอริกคลอไรด์ที่ใช้ในการบำบัดได้ดังนี้คือ ค่าการนำไฟฟ้าของน้ำเสียตั้งแต่ 0-500, 500-1000, 1000-1500 และ 1500-2000 ไมโครซีเมนต่อเซนติเมตร จะใช้ปริมาณเฟอริกคลอไรด์ในการบำบัดเท่ากับ 3500, 4000, 4500 และ 5000 พีพีเอ็ม ตามลำดับ ในส่วนของพอลิเมอร์ที่ใช้ในการบำบัดที่ปริมาณ 1, 2 และ 3 พีพีเอ็ม พบว่าค่าความขุ่นของน้ำเสียภายหลังการบำบัดมีค่าไม่แตกต่างกัน ทั้งนี้ภายหลังทำการวิเคราะห์คุณภาพน้ำเสียที่ผ่านระบบรีเวอร์สออสโมซิส พบว่าสัดส่วนการผสมสูงสุดของน้ำเสียที่ผ่านการบำบัด เพื่อนำน้ำภายหลังการผสมมาใช้เป็นน้ำเติมในหอระบายความร้อนอยู่ที่ 25 เปอร์เซ็นต์en_US
dc.description.abstractalternativeThis research is to carry out experimental study to find a proper consumption of ferric chloride and polymer chemicals for treating process cleaning wastewater to achieve the turbidity of coagulated wastewater at less than 50 NTU using a coagulation process. After the coagulation process, the coagulated wastewater is then sent to treat by a Multimedia filter, a Cartridge filter and a Reverse osmosis system to improve water qualities. Based on the qualities of treated wastewater, the blending ratio between raw water and treated wastewater is determined and the mixing water is used as make up water for a system. From the study, the results indicate that the amount of ferric chloride used for the treatment varies with the wastewater conductivity. With the range of wastewater conductivity at 0 – 500, 500 – 1000, 1000 – 1500 and 1500 – 2000 microsimen/cm, the amount of ferric chloride used for the treatment is 3500, 4000, 4500 and 5000 ppm., with respect to the amount of polymer used of 1.0, 2.0, and 3.0 ppm. respectively. It was found that the polymer used with different concentration did not give different results of the turbidity. After the treatment through the Reverse Osmosis system, the treated wastewater is analyzed the water qualities. Based on the water qualities, the maximum blending ratio of the treated wastewater and raw water is determined at 25%and this is used as make up water for the cooling tower system.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.793-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectน้ำ -- การนำกลับมาใช้ใหม่en_US
dc.subjectหอทำความเย็นen_US
dc.subjectน้ำเสีย -- การบำบัด -- กระบวนการออสโมซิสผันกลับen_US
dc.subjectน้ำเสีย -- การบำบัด -- การกรองen_US
dc.subjectWater reuseen_US
dc.subjectCooling towersen_US
dc.subjectSewage--Purification--Reverse osmosis processen_US
dc.subjectSewage--Purification--Filtrationen_US
dc.titleการบำบัดน้ำเสียที่เกิดจากการล้างทำความสะอาดในกระบวนการผลิตเพื่อนำกลับมาใช้เป็นน้ำเติมในหอระบายความร้อนen_US
dc.title.alternativeWastewater treatment from process cleaning for recovery to be make up water in cooling toweren_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเคมีen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorpaisan.k@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.793-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
wiboon_ri_front.pdf2.35 MBAdobe PDFView/Open
wiboon_ri_ch1.pdf680.71 kBAdobe PDFView/Open
wiboon_ri_ch2.pdf962.77 kBAdobe PDFView/Open
wiboon_ri_ch3.pdf824.41 kBAdobe PDFView/Open
wiboon_ri_ch4.pdf2.67 MBAdobe PDFView/Open
wiboon_ri_ch5.pdf988.76 kBAdobe PDFView/Open
wiboon_ri_ch6.pdf3.02 MBAdobe PDFView/Open
wiboon_ri_back.pdf6.22 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.