Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53121
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปารเมศ ชุติมา-
dc.contributor.authorภาณุวัฒน์ โอฬารวิวัฒน์ชัย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2017-06-24T10:04:47Z-
dc.date.available2017-06-24T10:04:47Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53121-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ทำการศึกษาหาวิธีการอัลกอริทึมแบบใหม่ที่เรียกว่า วิธี Combinatorial Optimization with Coincidence Algorithm (COIN) หรือวิธีอัลกอริทึมการบรรจวบ และทำการพัฒนาวิธีอัลกอริทึมการบรรจวบรวมกับเมมเมติกอัลกอริทึม เพื่อนำมาประยุกต์ใช้ในการหาคำตอบที่มีหลายวัตถุประสงค์ สำหรับจัดสมดุลสายการประกอบแบบผลิตภัณฑ์ผสมที่มีลักษณะของสายการผลิตแบบตัวยู ในระบบผลิตแบบทันเวลาพอดี จะพิจารณาฟังก์ชันวัตถุประสงค์ทั้งหมด 3 วัตถุประสงค์พร้อมกันคือ จำนวนสถานีงานมีจำนวนน้อยที่สุด งานมีผลต่างความสัมพันธ์ในสถานีงานมีค่าน้อยที่สุดและความผันแปรของเวลาในสถานีงานทั้งหมดมีค่าน้อยที่สุด ซึ่งจะทำการเปรียบเทียบประสิทธิภาพในขนาดปัญหาทดลอง 19 36 61 และ 111 ขั้นงาน กับอัลกอริทึมที่เป็นที่นิยมและได้คำตอบที่ดีในปัจจุบันคือวิธีเจนเนติกอัลกอริทึมแบบ NSGA-II (NSGA-II) และวิธีเมมเมติกอัลกอริทึมแบบ NSGA-II (M-NSGA-II) จากการเปรียบเทียบคำตอบจากตัวชี้วัดสมรรถนะ 4 ด้าน คือในด้านคำตอบที่มีการลู่เข้าใกล้กลุ่มคำตอบที่ดีที่สุดที่แท้จริง ด้านการกระจายของกลุ่มคำตอบที่หาได้ ด้านอัตราส่วนของจำนวนกลุ่มคำตอบที่หาได้เทียบเท่ากับกลุ่มคำตอบที่แท้จริง และด้านเวลาในการประมวลผลพบว่าในขนาดปัญหาเล็ก 19 และ 36 ขั้นงานวิธีวเมมเมติกอัลกอริทึมแบบ NSGA-II (M-NSGA-II) จะได้คำตอบที่ดีที่สุด ในส่วนปัญหาขนาดใหญ่ 61 และ 111 วิธีอัลกอริทึมการบรรจวบรวมกับเมมเมติกอัลกอริทึมจะเป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด โดยเฉพาะปัญหาขนาด 111 ขั้นงานสามารถหาค่าจำนวนสถานีงานน้อยสุดเท่ากับ 14 สถานีงาน ซึ่งเป็นค่าที่เหมาะสมที่สุด (Optimal Solution)en_US
dc.description.abstractalternativeThis research studies a new algorithm called Combinatorial Optimization with Coincidence Algorithm (COIN) which is developed with a Memetic algorithm. The objective is to find a solution for multi-objective balancing problem on mixed-model u-shaped assembly lines in JIT production systems. We consider three objectives including minimum number workstations, minimum work relatedness and minimum workload smoothness. We compare efficiency of COIN with two popular and effective algorithms, a Genetic Algorithm (NSGA-II) and Memetic Algorithm (M-NSGA-II) in problems that contain 19, 36, 61, and 111 tasks. Four key performance indicators are selected for assessing results, Convergence to the Pareto-optimal set, Spread to the Pareto-optimal set, Ratio of Non-Dominated Solution, and algorithm's processing time. We find that in small sized problems, 19 and 36 tasks, Memetic algorithm (M-NSGA-II) gives the best results. However, in case of large sized problems, 61 and 111 tasks, applying COIN with Memetic algorithm gives us the best solutions. Especially, in a problem with 111 tasks, this leads us to the optimal solution which uses only 14 workstation.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.314-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectระบบการผลิตแบบทันเวลาen_US
dc.subjectจีเนติกอัลกอริทึมen_US
dc.subjectการจัดสมดุลสายการผลิตen_US
dc.subjectสายการผลิตen_US
dc.subjectJust-in-time systemsen_US
dc.subjectGenetic algorithmsen_US
dc.subjectAssembly-line balancingen_US
dc.subjectAssembly-line methodsen_US
dc.titleการประยุกต์ใช้เมมเมติกอัลกอริทึมสำหรับปัญหาการจัดสมดุลที่มีหลายวัตถุประสงค์บนสายการประกอบผลิตภัณฑ์ผสมแบบลักษณะตัวยูในระบบผลิตแบบทันเวลาพอดีen_US
dc.title.alternativeApplication of memetic algorithms for multi-objective balancing problem on mixed-model u-shaped assembly line in jit production systemsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorParames.C@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.314-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
panuwat_ol_front.pdf46.64 MBAdobe PDFView/Open
panuwat_ol_ch1.pdf8.54 MBAdobe PDFView/Open
panuwat_ol_ch2.pdf9.54 MBAdobe PDFView/Open
panuwat_ol_ch3.pdf18.34 MBAdobe PDFView/Open
panuwat_ol_ch4.pdf94.62 MBAdobe PDFView/Open
panuwat_ol_ch5.pdf62.68 MBAdobe PDFView/Open
panuwat_ol_ch6.pdf47.35 MBAdobe PDFView/Open
panuwat_ol_ch7.pdf79.37 MBAdobe PDFView/Open
panuwat_ol_ch8.pdf102.84 MBAdobe PDFView/Open
panuwat_ol_ch9.pdf67.75 MBAdobe PDFView/Open
panuwat_ol_ch10.pdf5.93 MBAdobe PDFView/Open
panuwat_ol_back.pdf140.15 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.