Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53161
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | มะลิ หุ่นสม | - |
dc.contributor.advisor | เก็จวลี พฤกษาทร | - |
dc.contributor.author | มารุต โปราณานนท์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2017-06-27T11:29:01Z | - |
dc.date.available | 2017-06-27T11:29:01Z | - |
dc.date.issued | 2549 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53161 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 | en_US |
dc.description.abstract | น้ำเสียที่เกิดจากเครื่องทอผ้าแบบใช้น้ำของอุตสาหกรรมสิ่งทอ เป็นน้ำเสียที่มีน้ำมันและไขมันในปริมาณมาก งานวิจัยนี้ศึกษาการบำบัดน้ำเสียจากกระบวนทอผ้าด้วยกระบวนการอิเล็กโตรเฟนตอน ซึ่งจะแบ่งการทำงานออกเป็นสองส่วนคือ การบำบัดน้ำเสียด้วยกระบวนการอิเล็กโตรเฟนตอนในระบบกะ ตัวแปรที่ศึกษาคือ ความเข้มข้นเริ่มต้นของน้ำมันและไขมัน ความหนาแน่นกระแสไฟฟ้า อัตราการไหลวนของน้ำเสียในเครื่องปฏิกรณ์ และความเข้มข้นของไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ ผลการทดลองพบว่าภาวะที่เหมาะสมในการบำบัดน้ำเสียระบบกะคือ ค่าความหนาแน่นกระแสไฟฟ้า 22 แอมแปร์ต่อตารางเมตร อัตราการไหลวน 6 ลิตรต่อนาที และความเข้มข้นของไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ 0.5 โมลต่อลิตร โดยที่ภาวะดังกล่าวมีประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสียที่มีน้ำมันและไขมันเริ่มต้น 150-450 มิลลิกรัมต่อลิตร ได้ใกล้เคียงกันกล่าวคือสามารถลดปริมาณน้ำมันและไขมัน ซีโอดี และบีโอดี ที่เวลา 45 นาที ได้ร้อยละ 93.9 89.2 และ 88.9 ตามลำดับ ส่วนที่สองจะเป็นการบำบัดน้ำเสียด้วยกระบวนการอิเล็กโตรเฟนตอนในระบบต่อเนื่อง ตัวแปรที่ศึกษาคือ อัตราการไหลของน้ำเสียเข้าสู่ระบบ ลักษณะการป้อนไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์และอัตราการป้อนไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ ผลการทดลองพบว่าภาวะที่เหมาะสมในระบบต่อเนื่องคือ อัตราการไหลของน้ำเสีย 0.1 ลิตรต่อนาที ใช้ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ 0.5 โมลต่อลิตร ป้อนแบบเป็นจังหวะด้วยอัตราการไหล 2 มิลลิลิตรต่อนาที โดยระบบจะเข้าสู่ภาวะคงตัวเมื่อเวลาผ่านไป 60 นาที สามารถลดน้ำมันและไขมัน ซีโอดี และบีโอดีได้ร้อยละ 92.5 79.6 และ 69.8 | en_US |
dc.description.abstractalternative | Wastewater from textile industry was consisted of large quantity of oil and grease. In this work, the treatment of wastewater from textile industry by using the electrofenton has been studies. This study was divide in two parts. The first part was the wastewater treatment in bacth process. The studied parameters in this part were initial concentration of oil and grease, current density, circulating flowrate, and concentration of hydrogen peroxide. The optimum condition in batch process was found at initial concentration of oil and grease 450 micrograms/litre, current density of 22 A/m[superscript 2], circulating flowrate of 6 l/min, and concentration of hydrogen peroxide of 0.5 M. According to this condition the removal efficiency of oil and grease in the range of 150-450 micrograms/litre was similar. The removal percentages of oil and grease, COD, and BOD in 45 minute were obtained 93.9%, 89.2%, and 88.9% respectively. The second part was the wastewater treatment with electrofenton in continuous process. The studied parameters in this part were flowrate of wastewater, mode of hydrogen peroxide feed, and feed rate of hydrogen peroxide. The results indicated that the optimum condition in continuous process found at the flowrate of 0.1 l/min by using 0.5 M H[subscript 2]O[subscript 2] in pulse feed with feed rate of 2 millilitre/min. Approximately 92.5%, 79.6% and 69.8% of oil and grease, COD, and BOD were respectively removed within 60 minute. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2006.791 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | น้ำเสีย -- การบำบัด | en_US |
dc.subject | น้ำเสีย -- การบำบัด -- การกำจัดน้ำมัน | en_US |
dc.subject | เคมีไฟฟ้า | en_US |
dc.subject | อุตสาหกรรมสิ่งทอ | en_US |
dc.subject | Sewage -- Purification | en_US |
dc.subject | Sewage -- Purification -- Oil remova | en_US |
dc.subject | Electrochemistry | en_US |
dc.subject | Textile industry | en_US |
dc.title | การบำบัดน้ำเสียจากอุตสาหกรรมสิ่งทอโดยกระบวนการอิเล็กโตรเฟนตอน | en_US |
dc.title.alternative | Wastewater treatment from textile industry by electrofenton process | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | เคมีเทคนิค | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | mali@sc.chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | Kejvalee.P@Chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2006.791 | - |
Appears in Collections: | Sci - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
marut_po_front.pdf | 1.54 MB | Adobe PDF | View/Open | |
marut_po_ch1.pdf | 460.33 kB | Adobe PDF | View/Open | |
marut_po_ch2.pdf | 3.58 MB | Adobe PDF | View/Open | |
marut_po_ch3.pdf | 923.64 kB | Adobe PDF | View/Open | |
marut_po_ch4.pdf | 2.75 MB | Adobe PDF | View/Open | |
marut_po_ch5.pdf | 256.35 kB | Adobe PDF | View/Open | |
marut_po_back.pdf | 3.27 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.