Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53168
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมชัย รัตนธรรมพันธ์-
dc.contributor.authorองอาจ ตั้งเมตตาจิตตกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2017-06-27T14:51:37Z-
dc.date.available2017-06-27T14:51:37Z-
dc.date.issued2006-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53168-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้นําเสนอผลการศึกษาการประดิษฐ์ตัวเก็บประจุแบบฟิล์มบางโครงสร้าง โพลีเมอร์/BaTiO₃ เพื่อพัฒนาให้ได้ตัวเก็บประจุสําหรับการประยุกต์ในวงจรรวมและแผงวงจรทางไฟฟ้า ที่มีราคาถูกและมีประสิทธิภาพสูง โดยได้ทดลองประดิษฐ์ตัวเก็บประจุบนแผ่นฐานกระจกที่มีความหนาประมาณ 0.3 มิลลิเมตร ฟิล์มบางของโพลีเมอร์/BaTiO₃ ฝังตัวด้วยวิธีการหยดและเหวี่ยงออกด้วยความเร็วในการหมุน 2000 รอบต่อนาทีโดยโครงสร้างของโพลีเมอร์ที่ใช้เพื่อเป็นเมตริก ในการยึดอนุภาคของ BaTiO₃ ที่ใช้ในการทดลองในวิทยานิพนธ์ประกอบด้วยกัน 3 ชนิดได้แก่ 1) โพลีอะคิลิกแอซิด 2) โพลีอะคิลิกแอซิดโซเดียมซอลท์ 3) โพลีอิไมด์ ในการศึกษาดังกล่าวได้มีการเปลี่ยนตัวแปรในการประดิษฐ์ได้แก่ ปริมาณของ BaTiO₃ และขนาดของอนุภาคของ BaTiO₃ โดยอนุภาคที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยกัน 3 ขนาดได้แก่ขนาด 100 200 และ 400 นาโนเมตร ซึ่งในการวัดคุณสมบัติทางไฟฟ้าได้ศึกษาตัวแปรทางไฟฟ้าได้แก่ ความถี่ และแรงดันที่ใช้เพื่อหาผลตอบสนองต่อความถี่ ของค่าเก็บประจุและ ผลตอบสนองต่อ ความถี่ ของค่าการสูญเสียในไดอิเล็กทริก ผลการประดิษฐ์ตัวเก็บประจุแบบฟิล์มบางโครงสร้างโพลีเมอร์/BaTiO₃ พบว่าโพลีเมอร์ที่ดี ที่สุดซึ่งให้ผลตอบสนองต่อความถี่ ของค่าเก็บประจุและผลตอบสนองต่อความถี่ของค่าการสูญเสีย ในไดเล็กทริกที่ดีที่สุดคือโพลีอิมายด์และ พบว่าอนุภาคที่เหมาะสมในการประดิษฐ์เป็นตัวเก็บประจุแบบฟิล์มบางมากที่สุดคืออนุภาคขนาด 100 นาโนเมตรและปริมาณที่ เติมในโพลีเมอร์ที่มีต่อคุณสมบัติตัวเก็บประจุดังนี้ กรณีของ โพลีอะคิลิกแอซิดโซเดียมซอลท์ค่าตัวเก็บประจุมีค่าอยู่ ในช่วง 0.39 -6.37 nF/cm² สำหรับความเข้มข้น 1.7-3.3 % ต่อปริมาตรกรณีโพลีอะคิลลิกแอซิด ความสัมพันธ์ระหว่างค่าตัวเก็บประจุและปริมาณ BaTiO₃ มีลักษณะคล้ายกับกรณีของเกลือโซเดียม ของโพลีอะคิลลิกแอซิดและกรณีของโพลีอิมายด์ค่าตัวเก็บประจุมีค่าอยู่ในช่วง 3.2-15.5 nF/cm² สำหรับ BaTiO₃ 30-45 % ต่อปริมาตรen_US
dc.description.abstractalternativeThis thesis reports the invention of a new thin film capacitor by using polymer/BaTiO₃ for developing a capacitor that can be applied on IC application and print circuit boards. This new model capacitor merits are in low cost and high capability. In this study, the capacitors are fabricated using 0.3 mm glass base. Thin polymer film instrored by dropping and spinning at 2000 rpm. The polymer structure can be used as the matrix for holding BaTiO₃ particles. In this experiment, the polymers are Polyacriric acid, Polyacrylic acid sodium salt and Polyimide. In this study, the factors are BaTiO₃ concentration and the BaTiO₃ particle size which are 100, 200, and 400 nanometers. The electrical measuring is examined with the frequencies and applied voltage factor to characterize the frequencies response of capacitors and the dielectric loss. The results of the most effective are polyimide and the best particle size is 100 nanometres. Concentration added in polymer which affects the property of the capacitor are described as followed; in case of Polyacrylic acid sodium salt the capacitor status is in the range between 0.39-6.37 for 1.7-3.3% volume. For Polyacrylic acid the relation between capacitor and the concentration of BaTiO₃ is quite similar to the case of Polyacrylic acid sodium salt. For the polymine the capaciter status is 3.2-15.5 nF/cm2 for 30-45 % volumeen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.188-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectตัวเก็บประจุไฟฟ้าen_US
dc.subjectฟิล์มบางen_US
dc.subjectCapacitorsen_US
dc.subjectThin filmsen_US
dc.titleการศึกษาและการประดิษฐ์ตัวเก็บประจุแบบฟิล์มบางโครงสร้างโพลีเมอร์/BaTiO₃en_US
dc.title.alternativeStudy and fabrication of polymer/BaTiO₃ thin film capacitorsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมไฟฟ้าen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorrsomchai@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.188-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ong-arj_ta_front.pdf1.44 MBAdobe PDFView/Open
ong-arj_ta_ch1.pdf384.98 kBAdobe PDFView/Open
ong-arj_ta_ch2.pdf1.52 MBAdobe PDFView/Open
ong-arj_ta_ch3.pdf1.31 MBAdobe PDFView/Open
ong-arj_ta_ch4.pdf3.51 MBAdobe PDFView/Open
ong-arj_ta_ch5.pdf471.33 kBAdobe PDFView/Open
ong-arj_ta_back.pdf1.29 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.