Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53175
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กอบชัย ภัทรกุลวณิชย์ | - |
dc.contributor.advisor | กาญจณา จันทองจีน | - |
dc.contributor.author | เสาวลักษณ์ อ้นเมฆ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2017-06-28T01:42:25Z | - |
dc.date.available | 2017-06-28T01:42:25Z | - |
dc.date.issued | 2550 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53175 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 | en_US |
dc.description.abstract | กลุ่มแบคทีเรีย RRM-V3 ซึ่งแยกได้จากใบจามจุรี เป็นกลุ่มแบคทีเรียที่ย่อยสลายไพรีนและ ฟีแนนทรีนอย่างมีประสิทธิภาพ การปลูกเชื้อ RRM-V3 โดยตรงลงในดินที่ปนเปื้อน PAHs ทำให้ จำนวนเซลล์ลดลงและไม่สามารถย่อยสลาย PAHs ได้ ดังนั้นการศึกษานี้จึงมุ่งที่จะพัฒนาการ สร้างหัวเชื้อแบคทีเรียในใบจามจุรีก่อนที่จะใส่ลงไปในดิน โดยการปลูกเชื้อ RRM-V3 ที่ 108 CFU/ กรัม ลงในใบจามจุรีปลอดเชื้อ ซึ่งผ่านการปรับ pH เป็น 7 และความชื้นเป็น 70% ของค่าความจุ สูงสุดของการอุ้มน้ำ หลังจากบ่ม 3 วัน ที่ 30 ํซ กลุ่มแบคทีเรีย RRM-V3 มีจำนวนเซลล์เพิ่ม สูงสุดถึง 9.54 log CFU/กรัม จากนั้นนำไปใช้เป็นหัวเชื้อเพื่อบำบัดดินที่ปนเปื้อนด้วยไพรีนและฟี แนนทรีนที่ความเข้มข้นสุดท้ายชนิดละ 0.05 มก./มล. ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าทั้งไพรีน และฟีแนนทรีนถูกย่อยสลายได้อย่างรวดเร็วและเหลืออยู่เพียง 11.25% และ 7.59% ภายใน 3 วัน ตามลำดับ ในขณะที่จำนวนเซลล์แบคทีเรียในวันที่ 35 มีค่า 9.19 log CFU/กรัม สำหรับ RRMV3 ที่เตรียมในส่วนดินสกัดปลอดเชื้อ เช่นเดียวกับที่เพาะเลี้ยงในอาหารเลี้ยงเชื้อเหลวที่ไม่มี คาร์บอน มีความสามารถน้อยกว่าในการย่อยสลายไพรีน (22.21% และ 57.31%) และฟีแนนทรีน (12.07% และ 43.71%) ในดินหลังการบ่ม 3 วัน ตามลำดับ การวิเคราะห์ชิ้นส่วนดีเอ็นเอบริเวณ 16s rDNA โดยวิธี DGGE ยืนยันพลวัตรของประชากรกลุ่มแบคทีเรีย RRM-V3 ซึ่งสามารถพบได้ ตลอดการทดลองเป็นเวลา 35 วัน | en_US |
dc.description.abstractalternative | Bacterial consortium RRM-V3 isolated from rain tree leaves is a potential pyrene and phenanthrene degraders. Inoculation of RRM-V3 directly into PAHs contaminated soil resulted in the decrease of cell numbers and inability of PAHs degradation. Thus, this study was aimed to establish a bacterial inoculum in the rain tree leaves prior inoculation into soil. RRM-V3 was inoculated at 108 CFU/g into sterile rain tree leaves which had been previously adjusted pH to 7 and moisture content to 70% of maximum water holding capacity of the leaves. After three days of incubation at 30 ํC , RRM-V3 consortium reached the maximum cell numbers of 9.54 log CFU/g and was used as inoculum for remediation of soil contaminated with pyrene and phenanthrene at the final concentration of 0.05 mg/ml for each. The results revealed that both pyrene and phenanthrene were rapidly degraded and remained only 11.25% and 7.59% within 3 days, respectively, whereas the bacterial cell count was 9.19 log CFU/g on day 35. RRM-V3 inoculum prepared in sterile soil extract as well as in liquid cultured in carbon free mineral medium were less active in degradation of pyrene (22.21% and 57.31%) and phenanthrene (12.07% and 43.71%) in soil after 3 days of incubation, respectively. DGGE analysis of 16S rDNA fragments confirmed the dynamic population of bacterial consortium RRM-V3 which could be found throughout the experimental period of 35 day. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2007.204 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ไพรีน -- การย่อยสลายทางชีวภาพ | en_US |
dc.subject | ฟีแนนทรีน -- การย่อยสลายทางชีวภาพ | en_US |
dc.subject | การกำจัดสารปนเปื้อนในดิน | en_US |
dc.subject | Pyrene -- Biodegradation | en_US |
dc.subject | Phenanthrene -- Biodegradation | en_US |
dc.subject | Soil remediation | en_US |
dc.title | การสลายไพรีนและฟีแนนทรีนที่ปนเปื้อนในดินโดยกลุ่มแบคทีเรีย RRM-V3 ที่เลี้ยงบนใบจามจุรี | en_US |
dc.title.alternative | Pyrene and phenanthrene degradation in contaminated soil by bacterial consortium RRM-V3 grown on rain tree leaves | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | จุลชีววิทยาทางอุตสาหกรรม | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | kobchai@sc.chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | Jkanchan@chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2007.204 | - |
Appears in Collections: | Sci - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
saowaluk_on_front.pdf | 1.41 MB | Adobe PDF | View/Open | |
saowaluk_on_ch1.pdf | 460.33 kB | Adobe PDF | View/Open | |
saowaluk_on_ch2.pdf | 1.86 MB | Adobe PDF | View/Open | |
saowaluk_on_ch3.pdf | 1.73 MB | Adobe PDF | View/Open | |
saowaluk_on_ch4.pdf | 2.67 MB | Adobe PDF | View/Open | |
saowaluk_on_ch5.pdf | 1.12 MB | Adobe PDF | View/Open | |
saowaluk_on_ch6.pdf | 257.36 kB | Adobe PDF | View/Open | |
saowaluk_on_back.pdf | 2.12 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.