Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53182
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมเกียรติ แสงวัฒนาโรจน์ | - |
dc.contributor.author | ภัทรพงษ์ มกรเวส | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2017-06-28T02:44:07Z | - |
dc.date.available | 2017-06-28T02:44:07Z | - |
dc.date.issued | 2549 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53182 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 | en_US |
dc.description.abstract | บทนำ : จากการศึกษาที่ผ่านมาพบว่า การให้สารละลายกลูโคสและอินซูลินเข้าทางหลอดเลือด สามารถทำให้มีการเพิ่มสูงของคลื่นไฟฟ้าหัวใจเอสทีเซกเมนต์ ในผู้ป่วยกลุ่มอาการบรูกาดา แต่อย่างไรก็ตามยังไม่มีการศึกษาถึงผลของอาหารที่มีปริมาณน้ำตาลสูงกว่า มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงความสูงเอสทีเซกเมนต์ในผู้ป่วยกลุ่มอาการบรูกาดา วัตถุประสงค์ : ศึกษาดูการเปลี่ยนแปลงความสูงเอสทีเซกเมนต์ระหว่างอาหารไทยปกติ กับอาหารที่มีดัชนีน้ำตาลหลังอาหารสูง ในกลุ่มผู้ป่วยบรูกาดาทั้งที่มีอาการและไม่มีอาการ ระเบียบวิธีการวิจัย : ผู้ป่วยกลุ่มอาการบรูดาที่มีคลื่นไฟฟ้าหัวใจแบบ coved type จำนวน 18 คน แบ่งเป็นกลุ่มที่ไม่เคยมีอาการปกติ 8 คน (ชาย : หญิง = 5 : 3) กลุ่มที่เคยมีอาการปกติ 10 คน (ชาย : หญิง = 8 : 2) ได้รับการติด 48-hour-holter continous-3-right precardial lead ECG และให้รับประทานอาหารไทยปกติในวันที่ 1 และ รับประทานอาหารที่มีดัชนีน้ำตาลหลังอาหารสูงในวันที่ 2 และวัดความสูง J point (mV) ที่ 0, 30, 60, 120, 180 นาที หลังรับประทานอาหาร ผลการวิจัย : ในผู้ป่วย บรูกาดาเพศชาย ค่าเฉลี่ยดังผลรวมของผลต่างความสูงเอสทีเซกเมนต์ หลังอาหารที่ 0 และ 60 นาที ของมื้อเช้า กลางวันและเย็น หลังรับประทานอาหารที่ดัชนีน้ำตาลสูงมีค่ามากกว่าอาหารไทยปกติ (0.27 +- 0.24 VS 0.23 +- 0.20 mV, p = 0.01) แต่ไม่พบความแตกต่างนี้ในผู้ป่วยบรูกาดาเพศหญิง (0.26 +- 0.14 VS 0.25 +- 0.17 mV, p = 0.95) สรุป : อาหารที่มีดัชนีน้ำตาลสูงสามารถทำให้ความสูงของ ST segment เพิ่มสูงได้ในผู้ป่วยบรูกาดาเพศชายเมื่อเปรียบเทียบกับอาหารไทยปกติ | en_US |
dc.description.abstractalternative | Background : Previous studies suggested that glucose-induced insulin secretion is one of the contributing factors of fluctuation of ST segments elevation in Brugada syndrome patients. However, the effect of high glycemic index diets (HGI) on ST segment elevation in both asymptomatic and symptomatic patients has not been studied. Objectives : To evaluate the ST segment elevation post Thai regular diet and HGI diet in symptomatic and asymptomatic Brugada syndrome patient. Methods : Eighteen patients with type-1 Brugada ECG pattern in right precordial leads were enrolled. Eigt were asymptomatic (male : female = 5 : 3) and ten were symptomatic (male : female = 8 : 2). The 48-hour Holter continous-3-right precordial-lead-ECG monitoring started at one hour before breakfast of day 1 and finished before breakfast of day 3. All patients took three Thai regular diet on day 1 and three HGI diet on day 2. The maximum J point elevation (mV) in one right precordial lead at 0, 30, 60, 120 and 180 minutes after each meals were measured. Results : Among the male patients, the difference of maximum J point elevation at 0 and 60 minutes after HGI diet were significantly higher than those after Thai regular diet (0.27 +- 0.24 vs 0.23 +- 0.2 mV, p = 0.01), (total meals of each diet, n = 39) but no difference in female patients (0.26 +- 0.14 vs 0.25 +- 0.17 mV, p = 0.99). Conclusion : This is the first report on the effect of HGI diet on increasing the ST segment elevation in male Brugada syndrome patients compared with Thai regular diet. This finding may help to elucidate the pathogenesis of dynamic ST-T changes in Brugada syndrome. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2006.890 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | กลุ่มอาการบรูกาดา | en_US |
dc.subject | ระบบหัวใจและหลอดเลือด -- โรค | en_US |
dc.subject | ดัชนีไกลเซมิก | en_US |
dc.subject | อาหารคาร์โบไฮเดรตสูง | en_US |
dc.subject | Brugada syndrome | en_US |
dc.subject | Cardiovascular system | en_US |
dc.subject | Glycemic index | en_US |
dc.subject | High-carbohydrate diet | en_US |
dc.title | ผลของอาหารที่มีปริมาณน้ำตาลสูงกับการเปลี่ยนแปลงความสูงเอสทีเซกเมนต์ ในผู้ป่วยกลุ่มอาการบรูกาดา | en_US |
dc.title.alternative | Effect of high glycemic index diets on ST segment elevation in Brugada syndrome | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | อายุรศาสตร์ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Somkiat.S@Chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2006.890 | - |
Appears in Collections: | Med - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
pattarapong_ma_front.pdf | 1.22 MB | Adobe PDF | View/Open | |
pattarapong_ma_ch1.pdf | 475.89 kB | Adobe PDF | View/Open | |
pattarapong_ma_ch2.pdf | 3.64 MB | Adobe PDF | View/Open | |
pattarapong_ma_ch3.pdf | 1.03 MB | Adobe PDF | View/Open | |
pattarapong_ma_ch4.pdf | 632.04 kB | Adobe PDF | View/Open | |
pattarapong_ma_ch5.pdf | 717.79 kB | Adobe PDF | View/Open | |
pattarapong_ma_back.pdf | 1.56 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.