Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53237
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSakonvan Chawchai-
dc.contributor.authorKampanart Jankham-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Science-
dc.date.accessioned2017-09-05T09:43:39Z-
dc.date.available2017-09-05T09:43:39Z-
dc.date.issued2015-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53237-
dc.descriptionA senior project submitted in partial fulfillment of the requirements for the Degree of Bachelor of Science Department of Geology, Faculty of Science, Chulalongkorn University Academic Year 2015en_US
dc.description.abstractStalagmite is the one of advantaged paleoclimate and paleoenvironmental implication proxies. Our purposes are study the physical properties of stalagmites from Amphoe Ban Rai, Changwat Uthai Thani and select the stalagmites for paleoclimate implication. We have surveyed 20 caves and observed its physical properties ‒ shape, color, and texture. We collected 3 stalagmite samples, nearly symmetrical shape, in the same cave. Physical properties assessment was done both before and after cutting process which including of texture, color, growth layer. Following by drilling process, we drilled 8 points and each points were replicated. Powdered samples went to the chemistry and measurement process via U-Th method. The ages shows the precipitation in part of late Pleistocene epoch (87000-105000 a. BP) and the large error (±970-7700 a.). Consequently, the time interval between top and bottom of each samples were overlapped. The precipitation of calcite might occur in open system in which disequilibrium that lead 230Th/232Th ratio ranges 27-273 and 238U concentration ranges 40-181 ppb. Generally, the low of 230Th/232Th ratio represent a contamination (Jeffrey et al., 2004) and 238U concentration should be at least 100-200 ppb. (Shen et al., 2002; H. Cheng et al., 2013). These induce the large error and unsuitable for study further. Eventually, this study reveals that this area consists of the oldest stalagmite in Thailand by now and all of the samples provide the age nearly with each other which represent the precipitation ages of all samples and might be composed of variety ages but undiscovered.en_US
dc.description.abstractalternativeหินงอกเป็นหลักฐานทางธรณีวิทยาที่สำคัญอย่างหนึ่งในการนำมาศึกษาการเปลี่ยนแปลง สภาพสิ่งแวดล้อมและสภาพภูมิอากาศบรรพกาล งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณสมบัติทาง กายภาพ การหาอายุและประเมินศักยภาพของหินงอกเบื้องต้น ในอำเภอบ้านไร่ จังหวัดอุทัยธานี เพื่อ ประโยชน์ต่อการคัดเลือกหินงอกในการศึกษาด้านการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศบรรพกาล โดยทำการ สำรวจถ้ำจำนวน 20 ถ้ำ และสังเกตลักษณะทางกายภาพของหินงอก คือ รูปร่าง สีและเนื้อหิน หลังจากการสำรวจได้เลือกเก็บตัวอย่างหินงอกที่มีรูปร่างเป็นแท่งตรงและสมมาตร 3 ตัวอย่างจากถ้ำ เดียวกัน โดยบันทึกข้อมูลลักษณะกายภาพของหินทั้งก่อนและหลังการตัดตัวอย่างเพื่อดูโครงสร้าง ภายในของหินงอก (เนื้อหิน สี และเส้นการเจริญเติบโต) จากนั้นทำการเจาะผงหินงอกทั้ง 3 ตัวอย่าง โดยแบ่งเป็น 8 ตำแหน่ง และนำไปหาอายุโดยวิธียูเรเนียม ทอเรียม โดยทำซ้ำตำแหน่งละ 2 ครั้ง ผล การหาอายุพบว่าหินงอกทั้งสามตัวอย่างมีอายุการสะสมตัวในช่วงตอนปลายของสมัยไพลสโตซีน (ประมาณ 87000-105000 ปีก่อนปัจจุบัน) แต่มีค่าความคลาดเคลื่อนของอายุค่อนข้างสูง (ประมาณ ±970-7700 ปี) ทำให้ค่าอายุในช่วงด้านบนและด้านล่างของหินงอกในตัวอย่างเดียวกันมีการซ้อนทับ กัน อาจเนื่องมาจากแร่แคลไซต์ของหินงอกมีการสะสมตัวในสภาพแวดล้อมแบบเปิดที่ไม่อยู่ในสภาวะ สมดุล ซึ่งเป็นสาเหตุให้สัดส่วนของ 230Th/232Th มีค่าอยู่ระหว่าง 27-273 และปริมาณของ 238U อยู่ ระหว่าง 40-181 ppb. โดยสัดส่วนของ 230Th/232Th ที่น้อยแสดงถึงการปนเปื้อนนอกระบบ (Jeffrey et al., 2004) และปริมาณ 238U ควรมีอย่างน้อย 100-200 ppb (Shen et al., 2002; H. Cheng et al., 2013). ทำให้อายุที่ได้ออกมามีความคลาดเคลื่อนสูงและไม่เหมาะสมที่จะศึกษาสภาพภูมิอากาศ บรรพกาลในเชิงลึกต่อไป แต่อย่างไรก็ตามงานวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่าพื้นที่นี้มีหินงอกที่มีอายุเก่าแก่ที่สุด ที่ได้มีศึกษาในประเทศไทยและการที่อายุของทั้ง 3 ตัวอย่างให้อายุที่ใกล้เคียงกันนี้แสดงถึงช่วงเวลา การสะสมตัวของหินงอกในถ้านี้ ซึ่งอาจมีช่วงอายุอื่นด้วยแต่ยังไม่ได้ค้นพบen_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectStalactites and stalagmitesen_US
dc.subjectStalactites and stalagmites -- Ageen_US
dc.subjectหินงอกหินย้อยen_US
dc.subjectหินงอกหินย้อย -- อายุen_US
dc.titleU-TH dating and physical properties of stalagmites from Amphoe Ban Rai, Changwat Uthai Thani : Paleoclimate implicationen_US
dc.title.alternativeการหาอายุโดยวิธียูเรเนียม-ทอเรียม และคุณสมบัติทางกายภาพของหินงอก จาก อาเภอบ้านไร่ จังหวัดอุทัยธานี : ประโยชน์ด้านการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในอดีตen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorSakonvan.C@chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5532702023.pdf5.66 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.