Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53238
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สันติ ภัยหลบลี้ | - |
dc.contributor.author | จารุวรรณ ผิวบัวเผื่อน | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.coverage.spatial | ฟิลิปปินส์ | - |
dc.date.accessioned | 2017-09-05T10:06:34Z | - |
dc.date.available | 2017-09-05T10:06:34Z | - |
dc.date.issued | 2558 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53238 | - |
dc.description | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2558 | en_US |
dc.description.abstract | งานศึกษานี้มีจุดมุ่งหมายประเมินพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดแผ่นดินไหวในอนาคตบริเวณหมู่เกาะฟิลิปปินส์และพื้นที่ใกล้เคียง โดยวิธีการที่ใช่ในการศึกษาคือ ขั้นตอนวิธีบริเวณ-เวลา-ความยาวรอยเลื่อน ซึ่งจะใช้ฐานข้อมูลแผ่นดินไหวมีการบันทึกข้อมูลไว้จากแหล่งข้อมูล 3 แหล่ง ได้แก่ ฐานข้อมูลแผ่นดินไหว National Earthquake Information (NEIC) ฐานข้อมูลแผ่นดินไหว International Seismological Center (ISC) และฐานข้อมูลแผ่นดินไหว Global CMT Catalogue (GCMT) ที่มีการบันทึกย้อนหลังในช่วงปี ค.ศ. 1962–ค.ศ. 2015 มีขนาดแผ่นดินไหวตั้งแต่ 5.0 ริกเตอร์ขึ้นไป และมีข้อมูลแผ่นดินไหวทั้งสิ้น 4,925 เหตุการณ์ ซึ่งได้มีการคัดเลือกเหตุการณ์แผ่นดินไหวที่สาคัญมา 34 เหตุการณ์ เพื่อทำการทดสอบย้อนกลับ โดยกำหนดค่าตัวแปร Rmax = 190 กิโลเมตร และค่า Tmax = 2.0 ปี สามารถตรวจพบค่าความผิดปกติที่สัมพันธ์กันทั้งในเชิงเวลาและเชิงพื้นที่ทั้งหมด 29 เหตุการณ์ ดังนั้นค่าตัวแปรดังกล่าวสามารถใช้เป็นสัญญาณบอกเหตุถึงเหตุการณ์แผ่นดินไหวได้ ประกอบกับค่าความผิดปกติที่เกิดขึ้นอยู่ในช่วง 10 ที่ผ่านมา คือช่วงปี ค.ศ. 2005-2015 ซึ่งพบว่า 4 พื้นที่ที่มีค่าความผิดปกติเกิดขึ้น คือ บริเวณทางตะวันออกของประเทศไต้หวัน ตะวันออกของเมืองดาเวา ตะวันออกเฉียงเหนือและตะวันออกของเมืองบันดาร์ เสรี เบกาวัน ซึ่งบริเวณดังกล่าวถือว่าเป็นพื้นที่เสี่ยงที่จะเกิดแผ่นดินไหวได้ในอนาคต | en_US |
dc.description.abstractalternative | In this study, the prospective areas of the upcoming large earthquakes were evaluated in the Philippines Islands and the adjacent areas. In order to investigate the precursory seismic quiescence of earthquakes, the Region-Time-Length (RTL) algorithm was applied. The utilized earthquake catalogs consisting of the National Earthquake Information (NEIC), International Seismological Center (ISC) and Global CMT Catalogue (GCMT) that were recorded during 1962-2015 and 4,925 events with Mw ≥ 5.0. These events were defined as the completeness data which meaningful for any seismicity investigation. Then, there are 34 available events of the Mw ≥ 5.0 earthquakes were considered for the retrospective test. After iterative test, it was found that Rmax = 190 km and Tmax = 2.0 years, that can detect the anomaly associate with temporal and spatial all 29 events. So these variables are appropriate characteristic parameters for the Philippines Islands and the adjacent areas. As result, according to the seismic quiescence map from 2005 to 2015 indicated that there are 4 areas might be risked for the upcoming large earthquakes, i.e., i) East of Taiwan, ii) Eastern part of Davao, iii) eastern and iv) northeastern part of Bandar Seri Begawan, Philippines. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | แผ่นดินไหว -- ฟิลิปปินส์ | en_US |
dc.subject | รอยเลื่อน (ธรณีวิทยา) -- ฟิลิปปินส์ | en_US |
dc.subject | Earthquakes -- Philippines | en_US |
dc.subject | Faults (Geology) -- Philippines | en_US |
dc.title | ขั้นตอนวิธีบริเวณ-เวลา-ความยาวรอยเลื่อนบริเวณหมู่เกาะฟิลิปปินส์และพื้นที่ใกล้เคียง | en_US |
dc.title.alternative | Region-time-length algorithm in the Philippines islands and the adjacent areas | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.email.advisor | Pailoplee.S@hotmail.com | - |
Appears in Collections: | Sci - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5532705023.pdf | 4.54 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.