Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53255
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สันติ ภัยหลบลี้ | - |
dc.contributor.author | ณัฐพล ธนาวุฒิ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.coverage.spatial | ฟิลิปปินส์ | - |
dc.date.accessioned | 2017-09-07T09:56:09Z | - |
dc.date.available | 2017-09-07T09:56:09Z | - |
dc.date.issued | 2558 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53255 | - |
dc.description | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2558 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายที่จะทำการประเมินพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดแผ่นดินไหวในอนาคต โดยวิธี การศึกษาการเปลี่ยนแปลงอัตราการไหวสะเทือนบริเวณหมู่เกาะฟิลิปปินส์และพื้นที่ใกล้เคียง โดยอาศัยฐานข้อมูลแผ่นดินไหวจาก 3 แหล่ง ฐานข้อมูลแผ่นดินไหวของ The National Earthquake Information (NEIC) ฐานข้อมูลแผ่นดินไหวของ The International Seismological Center (ISC) และฐานข้อมูลแผ่นดินไหวของ The Global CMT Catalogue (GCMT) โดยกำหนดขอบเขตพื้นที่ศึกษาตั้งแต่ละติจูดที่ -4.10 องศาใต้ – 26.10 องศาเหนือ ลองจิจูดที่ 109.99 – 132.22 องศาตะวันออก หลังจากผ่านการปรับปรุงข้อมูลแผ่นดินไหวแล้วยังคงเหลือข้อมูลแผ่นดินไหวทั้งสิ้น 4,925 เหตุการณ์ที่มีความสมบูรณ์และสื่อถึงพฤติกรรมการเกิดแผ่นดินไหวที่สัมพันธ์กับกิจกรรมธรณีแปรสัณฐานอย่างแท้จริงและทาการคัดเลือกเหตุการณ์แผ่นดินไหวที่มีขนาด 5.0 ริกเตอร์ขึ้นไป กำหนดเป็นกรณีศึกษาจำนวน 34 เหตุการณ์ จากนั้นทำการทดสอบย้อนกลับโดยเลือกเงื่อนไขที่ค่า N =25 และค่าTw= 2.0สามารถตรวจพบค่าความผิดปกติที่สัมพันธ์กันทั้งในเชิงเวลาและเชิงพื้นที่ทั้งหมด 29 เหตุการณ์จากทั้งหมด 34เหตุการณ์ จึงนำมาคำนวณหาค่าภาวะเงียบสงบ (Z-value) เพื่อสร้างแผนที่แสดงการกระจายตัวของค่า Z และจากแผนที่แสดงการกระจายตัวของค่า Z ในพื้นที่ศึกษาพบว่ามีบริเวณที่มีความผิดปกติของค่า Z และมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดแผ่นดินไหวในอนาคต 3 บริเวณได้แก่พื้นที่ทางทิศตะวันออกของเมืองบันดาร์ เสรี เบกาวัน พื้นที่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของกรุงมะนิลาและพื้นที่ทางตะวันตกของเมืองดาเวา | en_US |
dc.description.abstractalternative | This study aims mainly to analyze the seismicity rate change for detecting seismic quiescence in the Philippines islands and the adjacent areas by using earthquake catalogues from the National Earthquake Information (NEIC), the International Seismological Center (ISC) and the Global CMT Catalogue (GCMT). The study area was covered Latitude of 4.10S -26.10N and Longitude of 109.99 -132.22E. After improving the earthquake catalogue process, we chose earthquake events that possibly refer to seismotectonic setting to represent our case study for 34 events (MW>7.0). Then, prove retrospective tests with reasonable conditions, N = 25 events and TW= 2.0 years. After the retrospective test, we were found three quiescence-anomaleous areas, might be risk for the upcoming moderate-to-large earthquakes in present day map consist of eastern of Bandar Seri Begawan, eastern of Manila and western Davao. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | แผ่นดินไหว -- ฟิลิปปินส์ | en_US |
dc.subject | Earthquakes -- Philippines | en_US |
dc.title | การเปลี่ยนแปลงอัตราการไหวสะเทือนบริเวณหมู่เกาะฟิลิปปินส์และพื้นที่ใกล้เคียง | en_US |
dc.title.alternative | Seismicity Rate Change in the Philippines islands and the adjacent areas | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.email.advisor | Pailoplee.S@hotmail.com | - |
Appears in Collections: | Sci - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5532715223.pdf | 3.42 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.