Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53270
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิษณุพงศ์ กาญจนพยนต์-
dc.contributor.advisorสุคนธ์เมธ จิตรมหันตกุล-
dc.contributor.authorภาชินี โสโพธิ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.coverage.spatialเพชรบูรณ์-
dc.date.accessioned2017-09-12T02:38:35Z-
dc.date.available2017-09-12T02:38:35Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53270-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2558en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มุ่งเน้นศึกษาลักษณะและวิวัฒนาการทางธรณีวิทยาโครงสร้างของรอยแตกในระดับมัชณิมภาคของหินโผล่บริเวณสำนักปฏิบัติธรรมเขาถ้ำโถ อำเภอหนองไผ่ จังหวัดเพชรบูรณ์ ซึ่งหินโผล่บริเวณจุดศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของลานเขาขวาง ประกอบด้วยหินปูนแทรกสลับกับหินดินดาน และพนังหินแอนดีไซด์ อายุยุคเพอร์เมียนตอนล่าง มีสภาพแวดล้อมการตกสะสมตัวแบบทะเลน้ำตื้น จากการสำรวจภาคสนามพบว่ามีรอยแตกทั้งหมด 3 ระบบ คือ (1) รอยแตกตั้งฉากกับชั้นหิน (2) รอยแตกทำมุมกับชั้นหิน และ (3) รอยแตกขนานกับชั้นหิน จากหลักฐานการตัดกันของรอยแตกพบว่า รอยแตกตั้งฉากกับชั้นหินและรอยแตกทำมุมกับชั้นหินมีความสัมพันธ์กับชั้นหินคดโค้งและรอยเลื่อนย้อน จากนั้นพนังหินแอนดีไซด์และรอยแตกขนานกับชั้นหินเกิดต่อมาตามลำดับ ระบบรอยแตกทั้ง 3 ระบบมีความสัมพันธ์กับวิวัฒนาการธรณีวิทยาโครงสร้างที่มีผลมาจากการชนกันของแผ่นจุลทวีปไซบูมาสุและแผ่นจุลทวีปอินโดไชน่า มีความสัมพันธ์กับการเกิดแนวชั้นหินคดโค้งเลย-เพชรบูรณ์ หรือการก่อเทือกเขาอินโดไชเนียนในช่วงยุคไทรแอสสิกถึงยุคจูแรสสิกen_US
dc.description.abstractalternativeThis study aims to describe structural style and to construct an evolutionary model of fracture systems in mesoscopic scale at Wat Khao Tham Tho, Amphoe Nong Phai, Changwat Phetchabun. This area is a part of Khao Khwang Platform and composed mainly of limestone interbedded with shale and andesitic dyke. The sedimentary rocks formed under shallow marine condition during Early Permian. According to field investigation, three fracture systems have been classified base on mode of fracture (1) bed-perpendicular fracture (2) bed-oblique fracture and (3) bed-parallel fracture. In conclusion based on cross-cutting relationship. This study found that bed-perpendicular fracture and bed-oblique fracture occur first related to fold and reverse fault. Then Andesitic dyke and bed-parallel fracture formed respectively. These fractures formed as a result of Sibumasu-Indochina terrance collision related to Loei-Phetchabun fold belt or Indosinian Orogeny in Triassic to Jurassic.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectหินคาร์บอเนต -- ไทย -- เพชรบูรณ์en_US
dc.subjectธรณีวิทยาโครงสร้าง -- ไทย -- เพชรบูรณ์en_US
dc.subjectธรณีวิทยากายภาพ -- ไทย -- เพชรบูรณ์en_US
dc.subjectCarbonate rocks -- Thailand -- Phetchabunen_US
dc.subjectGeology, Structural -- Thailand -- Phetchabunen_US
dc.subjectPhysical geology -- Thailand -- Phetchabunen_US
dc.titleระบบรอยแตกของหินปูนคาร์บอเนตยุคเพอร์เมียนตอนล่างบริเวณเขาถ้ำโถ จังหวัดเพชรบูรณ์en_US
dc.title.alternativeFracture systems in lower Permian carbonate rocks at Khao Tham Tho, Changwat Phetchabunen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorpitsanupong.k@hotmail.com-
dc.email.advisorsukonmeth.j@chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5532730623.pdf9.28 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.