Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53285
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พิษณุพงศ์ กาญจนพยนต์ | - |
dc.contributor.author | บวร บุตรชัยงาม | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.coverage.spatial | ระยอง | - |
dc.date.accessioned | 2017-09-14T09:57:28Z | - |
dc.date.available | 2017-09-14T09:57:28Z | - |
dc.date.issued | 2554 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53285 | - |
dc.description | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2554 | en_US |
dc.description.abstract | แหลมหญ้า อยู่ในกลุ่มภูเขาที่วางตัวอยู่ในแนวเหนือ-ใต้ ทางภาคตะวันออกของประเทศไทย พาดผ่านจังหวัดระยอง การศึกษาธรณีวิทยาโครงสร้าง และการพัฒนาการของธรณีวิทยาโครงสร้าง ในพื้นที่เขาแหลมหญ้า จึงเป็นการเพื่อข้อมูลธรณีวิทยาโครงสร้างทางภาคตะวันออกของประเทศไทย การศึกษาในครั้งนี้ใช้การศึกษาลักษณะธรณีวิทยาโครงสร้างในภาคสนาม ประกอบกับการศึกษาภายใต้กล้องจุลทรรศน์ จากข้อมูลการวางตัวของธรณีวิทยาโรงสร้างที่สามารถสังเกตได้ในภาคสนาม พบว่าริ้วขนาน แนวเส้นการยืดแนวแกน และระนาบแกนชั้นหินคดโค้ง วางตัวอยู่ในแนวเกือบจะเหนือ-ใต้ และจากหลักฐานภายใต้กล้องจุลทรรศน์ ที่พบสายแร่ควอตซ์เล็กเกิดขึ้นแทรกในเนื้อหิน การขัดที่ผิวผลึกแร่ อันดูโลส เอ็กติงชัน ผลึกแฝดตีบหาย ผลึกแฝดแปรสภาพบิดโค้ง และการหมุนตัวของแร่เฟลต์สปาร์ สามารถสรุปได้ว่า ลักษณะทางธรณีวิทยาโครงสร้างในพื้นที่ศึกษาเขาแหลมหญ้าอยู่ในระบบการเฉือนภายในชั้นหินคดโค้ง การแปรสภาพหลักเป็นแบบอ่อนนิ่ม ความเค้นเป็นแรงบีบอัดในแนว ตะวันออก-ตะวันตก สัมพันธ์กันเหตุการณ์ทางธรณีวิทยาแปรสัณฐานที่แผ่นจุลทวีปชานไทย ชนกับแผ่นจุลทวีปอินโดจีน ในช่วงมิชฌิมกาล | en_US |
dc.description.abstractalternative | Laemya Mountain is the member of N-S trend mountain range in Eastern Thailand in Changwat Rayong. To study structural geology style and history of structural geology development is a piece of puzzle to explain Eastern Thailand. Mesoscopic observation and microscopic observation method use to collect structural geology feather in quartz muscovite schist and quartz schist. Form field data-attitude of small fold axial, foliation, stretching lineation, joint-and polarizing microscope-quartz vein, basal glide, undulose extinction, tapering twin, and feldspar rotation etc.-data can interpret into flexural shear fold model and mainly ductile feature relate to premo-triassic Shan-thai Indochina correction tectonic event. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | เขาแหลมหญ้า (ระยอง) | en_US |
dc.subject | ธรณีวิทยาโครงสร้าง -- ไทย -- ระยอง | en_US |
dc.subject | Laemya Mountain (Rayong) | en_US |
dc.subject | Geology, Structural -- Thailand -- Rayong | en_US |
dc.title | ธรณีวิทยาโครงสร้างของเขาแหลมหญ้า จังหวัดระยอง | en_US |
dc.title.alternative | Structural geology of Laemya Mountain, Changwat Rayong | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.email.advisor | pitsanupong.k@hotmail.com | - |
Appears in Collections: | Sci - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
report_Bowon Bootchaingam.pdf | 3.85 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.